ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไฮโดรเจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Imageภาพ:Wasserstoffbrückenbindungen des Wasser.png|thumb|พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งในรูปแทนด้วยเส้นดำ ส่วนเส้นแดงเป็นพันธะโควาเลนต์ที่ยึดเกาะกันระหว่าง [[ออกซิเจน]](สีแดง) และ [[ไฮโดรเจน]] (สีน้ำเงิน)]]
 
'''พันธะไฮโดรเจน''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:Hydrogen bond) เป็น[[แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล]][[พันธะโควาเลนต์|โควาเลนต์]] ที่มีขั้วรุนแรง มีความแข็งแรงมากกกว่าแรงระหว่างโมเลกุลอื่นๆ แต่แรงยึดเหนี่ยวนี้มีความแข็งแรงน้อยกว่า[[พันธะโควาเลนต์]]และ[[พันธะไอออนิก]]อยู่มาก นอกจากนี้ ในโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น [[โปรตีน]] หรือ [[กรดนิวคลีอิก]] ก็อาจมีพันธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุลได้
บรรทัด 5:
เหตุที่เรียกแรงยึดเหนี่ยวนี้ว่าพันธะไฮโดรเจน เพราะว่า[[โมเลกุล]]ที่จะเกิดพันธะไฮโดรเจนนั้น จะมีธาตุ[[ไฮโดรเจน]]ที่เกิดพันธะโควาเลนต์กับธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีสูง ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และฟลูออรีน เกิดแรงดึงดูดกับธาตุเหล่านี้ของอีกโมเลกุลหนึ่ง โดยธาตุเหล่านี้จะดึงดูดกลุ่มหมอก[[อิเล็กตรอน]] มาอยู่ที่[[อะตอม]]เหล่านั้น จนทำให้เกิดสภาพขั้วบวกที่อะตอมของ[[ไฮโดรเจน]] และดึงดูดกับ[[อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว]]ของอีกโมเลกุลหนึ่งอย่างรุนแรงเกิดพันธะไฮโดรเจนขึ้น
 
== ดูเพิ่มเติมเพิ่ม ==
* [[พันธะเคมี]]
* [[พันธะโควาเลนต์]]