ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาสามัญชนสหราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KrebsLovesFiesh (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขชื่อนายกรัฐมนตรีให้ถูกต้อง
KrebsLovesFiesh (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมายเหตุ
บรรทัด 43:
| พรรค8 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง8 = 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2021
 
| โครงสร้าง1 = House of Commons UK.svg
| โครงสร้าง1_ขนาด = 300px
|term_length = ไม่เกิน 5 ปี{{note label|reference_name_c|หมายเหตุ สมาชิก =ค|หมายเหตุ 650ค}}
| สมาชิก = 650
| กลุ่มการเมือง1 =
;'''[[รัฐบาลสหราชอาณาจักร|รัฐบาลในสมเด็จฯ]] (357)'''
บรรทัด 62:
:{{colorbox|#ffd700|border=darkgray}} [[พรรคแนวร่วมแห่งไอร์แลนด์เหนือ]] (1)
:{{colorbox|#99CC33|border=darkgray}} [[พรรคกรีน (สหราชอาณาจักร)|พรรคกรีน]] (1)
:{{colorbox|#DDDDDD|border=darkgray}} [[นักการเมืองอิสระ|อิสระ]] (13){{note label|reference_name_b|หมายเหตุ ข|หมายเหตุ ข}}
;'''มีนโยบายไม่เข้าร่วมประชุม'''
:{{colorbox|#033E3E|border=darkgray}} [[พรรคซินน์เฟน]] (7)
บรรทัด 77:
}}
 
'''สภาสามัญชน'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} พิมพ์คำว่า House of Commons</ref>{{ref label|reference_name_a|หมายเหตุ ก|หมายเหตุ ก}} ({{lang-en|House of Commons}}) เป็น[[สภาล่าง]]ของ[[รัฐสภาสหราชอาณาจักร]] และประชุม ณ [[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]] กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เช่นเดียวกับ[[สภาขุนนาง]]ซึ่งเป็นสภาสูง
 
สภาสามัญชนมี[[สมาชิกรัฐสภา (สหราชอาณาจักร)|สมาชิกรัฐสภา]] (Member of Parliament; MP) 650 คน ได้รับการเลือกตั้งแบบ[[ระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด|แบ่งเขตคะแนนสูงสุด]]เพื่อเป็นตัวแทนของแต่ละ[[เขตเลือกตั้ง|เขต]] และดำรงตำแหน่ง[[การยุบรัฐสภาสหราชอาณาจักร|จนมีการยุบสภา]]โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติการยุบและเรียกประชุมรัฐสภา ค.ศ. 2022
บรรทัด 94:
สภาอาจแสดงเจตนารมณ์ว่าไม่สนับสนุนรัฐบาลโดยการไม่สนับสนุนญัตติไว้วางใจ หรือโดยการผ่านญัตติไม่ไว้วางใจ ญัตติทั้งสองมีการใช้ถ้อยคำแตกต่างกัน เช่น "...โดยที่สภานี้ไม่มีความไว้วางใจในรัฐบาลในสมเด็จฯ" มีร่างกฎหมายหลายประเภทในอดีตที่ถือว่าเกี่ยวข้องกับความไว้วางใจด้วย ถึงแม้ว่าไม่มีการกล่าวถึงอย่างโจ่งแจ้งก็ตาม โดยมักเป็นร่างกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปียังถือว่าเป็นพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับความไว้วางใจในรัฐบาล เมื่อสภาไม่ไว้วางใจในรัฐบาลอีกต่อไป นายกรัฐมนตรีย่อมต้องลาออกจากตำแหน่ง หรือขอให้พระมหากษัตริย์ยุบรัฐสภาเพื่อให้มีการเลือกตั้งทั่วไป
 
ก่อนปี ค.ศ. 2011 รัฐสภาอาจดำรงวาระได้ไม่เกิน 5 ปี แต่นายกรัฐมนตรีสามารถเลือกให้มีการยุบสภาก่อนครบวาระได้โดยรับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตั้งแต่มีการตราพระราชบัญญัติการยุบและเรียกประชุมรัฐสภา ค.ศ. 2022 หรือก่อนหน้านั้นคือพระราชบัญญัติกำหนดวาระรัฐสภา ค.ศ. 2011 ได้มีการกำหนดให้รัฐสภาดำรงวาระ 5 ปี แต่สมาชิกรัฐสภาจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนที่นั่งรัฐสภาทั้งหมด (ไม่เปลี่ยนแปลงแม้ว่าจะมีที่นั่งว่างลงหรือมีสิทธิออกเสียงหรือไม่) สามารถเห็นชอบให้มีการเลือกตั้งทั่วไปได้ หรือการผ่านญัตติไม่ไว้วางใจที่ไม่มีการผ่านญัตติไว้วางใจภายใน 14 วันหลังจากนั้น (ซึ่งอาจจะเป็นการไว้วางใจรัฐบาลชุดเดิมหรือชุดใหม่ก็ได้) ซึ่งหากใช้กลไกสุดท้ายที่กล่าวมา รัฐบาลสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างได้โดยไม่ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป หากอิงตามข้อมูลในวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2019 นั้น นายกรัฐมนตรี 4 คนจาก 9 คนล่าสุดนั้นได้รับตำแหน่งโดยตรงหลังจากการเลือกตั้งทั่วไป ส่วนคนอื่น ๆ ได้รับตำแหน่งจากการลาออกของนายกรัฐมนตรีคนก่อน<ref>คนอื่น{{note label|reference_name_d|หมายเหตุ ที่กล่าวถึงคือง|หมายเหตุ [[เจมส์ คัลลาฮาน]] (แพ้การเลือกตั้งครั้งถัดไป), [[จอห์น เมเจอร์]] (ชนะการเลือกตั้งครั้งถัดไป), [[กอร์ดอน บราวน์]] (แพ้การเลือกตั้งครั้งถัดไป), [[เทรีซา เมย์]] (ชนะการเลือกตั้งครั้งถัดไป), และ [[บอริส จอห์นสัน]]; พวกเขาเริ่มดำรงตำแหน่งหลังจาก [[แฮโรลด์ วิลสัน]], [[มาร์กาเรต แทตเชอร์]], [[โทนี แบลร์]], [[เดวิด แคเมอรอน]], และเทรีซา เมย์.</ref>ง}}
 
นายกรัฐมนตรีย่อมลาออกทันทีหากไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลร่วมได้หรือจัดให้มีข้อตกลงไว้วางใจและสนับสนุนพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือหากมีการผ่านญัตติไม่ไว้วางใจ หรือโดยเหตุผลส่วนตัว ซึ่งหากมีการลาออก ผู้ที่ได้รับตำแหน่งต้องเป็นผู้ที่สามารถได้รับความไว้วางใจจากเสียงส่วนมากในสภาได้ แต่หากสภาอยู่ในสภาวะปริ่มน้ำ โดยธรรมเนียมผู้ที่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคือผู้ที่เป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่ของพรรคที่อดีตนายกรัฐมนตรีสังกัด ในปัจจุบันพรรคการเมืองใหญ่ ๆ มักนิยมเขียนธรรมนูญพรรคให้มีวิธีการเลือกหัวหน้าพรรคใหม่โดยตายตัว<ref>ก่อนปี ค.ศ. 1965 พรรคอนุรักษนิยมไม่มีกลไกเลือกหัวหน้าพรรคใหม่อย่างเป็นทางการ ในปี ค.ศ. 1957 เมื่อแอนโทนี อีเดนลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยที่ไม่ได้แนะนำผู้ที่ให้มาแทนที่เขานั้น พรรคไม่สามารถเลือกผู้ให้เป็นหัวหน้าพรรคต่อได้ สมเด็จพระราชินีนาถจึงต้องแต่งตั้งแฮโรลด์ แมคมิลแลนเป็นนายกรัฐมนตรีหลังจากได้รับการสนับสนุนจากคณะรัฐมนตรี</ref>{{note label|reference_name_e|หมายเหตุ จ|หมายเหตุ จ}}
 
=== สมาชิกเป็นรัฐมนตรี ===
บรรทัด 251:
== ดูเพิ่ม ==
* [[รัฐสภาแห่งอังกฤษ]]
 
== หมายเหตุ ==
 
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{note label|reference_name_a|หมายเหตุ ก|หมายเหตุ ก}} ชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''คณะสามัญชนผู้ทรงเกียรติแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา''' หรืออีกแบบคือ '''อัศวิน ประชาชน และพลเมืองผู้ทรงเกียรติแห่งสภาสามัญชนสหราชอาณาจักรแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา'''
{{note label|reference_name_b|หมายเหตุ ข|หมายเหตุ ข}} สมาชิกสามารถได้รับการรับเลือกเป็นสมาชิกรัฐสภาอิสระหรือออกจากพรรคการเมืองที่สังกัดตอนได้รับการเลือกตั้ง สมาชิกรัฐสภาที่ถูกสั่งพักจากพรรคที่ตนสังกัดให้ถือว่าเป็นอิสระเช่นกัน ขณะนี้ไม่มีสมาชิกรัฐสภาอิสระที่ลงสมัครรับเลือกตั้งในนามอิสระ และไม่มีสมาชิกรัฐสภาอิสระที่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 2019
{{note label|reference_name_c|หมายเหตุ ค|หมายเหตุ ค}} กฎหมายที่ผ่านโดยรัฐสภาในปัจจุบันให้สภาสามัญชนดำรงวาระได้นานสุด 5 ปี แต่เนื่องจาก[[หลักอำนาจอธิปไตยของรัฐสภาในสหราชอาณาจักร|รัฐสภามีอำนาจอธิปไตยในตนเอง]] จึงทำให้รัฐสภาขยายวาระของตนเองได้ตามที่ต้องการ<ref>{{cite document| title= The definition of Parliament after Jackson: Can the life of Parliament be extended under the Parliament Acts 1911 and 1949? | author= Christopher Forsyth | date= 2011 | publisher= Oxford University Press and New York University School of Law }}</ref> ครั้งล่าสุดที่รัฐสภาขยายวาระของตนเองคือเมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เมื่อรัฐสภาลงมติขยายวาระของตนเองหลายครั้งจนสงครามจบลง ทำให้รัฐสภาดำรงวาระ 10 ปีจากปกติ 5 ปี
{{note label|reference_name_d|หมายเหตุ ง|หมายเหตุ ง}} คนอื่น ๆ ที่กล่าวถึงคือ [[เจมส์ คัลลาฮาน]] (แพ้การเลือกตั้งครั้งถัดไป) [[จอห์น เมเจอร์]] (ชนะการเลือกตั้งครั้งถัดไป) [[กอร์ดอน บราวน์]] (แพ้การเลือกตั้งครั้งถัดไป) [[เทรีซา เมย์]] (ชนะการเลือกตั้งครั้งถัดไป) และ [[บอริส จอห์นสัน]] พวกเขาเริ่มดำรงตำแหน่งหลังจาก [[แฮโรลด์ วิลสัน]] [[มาร์กาเรต แทตเชอร์]] [[โทนี แบลร์]] [[เดวิด แคเมอรอน]] และเทรีซา เมย์
{{note label|reference_name_e|หมายเหตุ จ|หมายเหตุ จ}} ก่อนปี ค.ศ. 1965 พรรคอนุรักษนิยมไม่มีกลไกเลือกหัวหน้าพรรคใหม่อย่างเป็นทางการ ในปี ค.ศ. 1957 เมื่อแอนโทนี อีเดนลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยที่ไม่ได้แนะนำผู้ที่ให้มาแทนที่เขานั้น พรรคไม่สามารถเลือกผู้ให้เป็นหัวหน้าพรรคต่อได้ สมเด็จพระราชินีนาถจึงต้องแต่งตั้งแฮโรลด์ แมคมิลแลนเป็นนายกรัฐมนตรีหลังจากได้รับการสนับสนุนจากคณะรัฐมนตรี
{{จบอ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==