ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉันทลักษณ์ (กวีนิพนธ์ไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
# บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กาพย์ (เหนือ)]]
#
# [[กาบ (อีสาน)]]
# [[กอน (อีสาน)]]
 
คำประพันธ์ทั้ง 10 ชนิดนี้ ถ้านำมาแบ่งตามลักษณะบังคับร่วมจะได้ 2 กลุ่มคือ
 
'''กลุ่มที่ 1 ไม่บังคับวรรณยุกต์''' ได้แก่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย และกานต์
 
'''กลุ่มที่ 2 บังคับวรรณยุกต์''' ได้แก่ โคลง กอน (อีสาน) กาบ (อีสาน) กาพย์ (เหนือ) และค่าว
 
หมายถึง ลักษณะบังคับที่มีในคำประพันธ์ไทย ได้แก่
# ครุ ลหุ
# เอก โท
# คณะ
# พยางค์
# สัมผครุ-ลหุกันมากกว่าจำชื่อคณะ เท่าที่จัดมาให้ดูเพื่อประดับความรู้เท่านั้น)
# สัมผัส
# คำเป็น คำตาย
# คำนำ
# คำสร้อย
 
=== ครุและลหุ ===
* '''ครุ''' คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง คือร อ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น ตา ดำ หัด เรียน ดุ แกะ ฯลฯ
 
* '''เอก''' คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอกแทนได้ เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ
* '''โท''' คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ
 
* '''คณะ''' กล่าวโดยทั่วไปคือแบบบังคับที่วางเป็นกำหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า คำประพันธ์ชนิดนั้น จะต้องมีเท่านั้รรคทนคำ และต้องมีเอกโท ครุลหุตรงนั้นตรงนี้
* แต่สำหรับใน '''[[ฉันท์]]''' คำว่า '''คณะ''' มีความหมายแคบ คือหมายถึง ลักษณะที่วางคำเสียงหนัก เสียงเบา ที่เรียกว่า ครุ ลหุ และแบ่งออกเป็น 8 คณะ คณะหนึ่งมีคำอยู่ 3 คำ เรียง ครุ ลหุ ไว้ต่างๆ กัน
 
คณะทั้ง 8 นั้น คือ '''ย ร ต ภ ช ส ม น''' ชื่อคณะทั้ง 8 นี้ เป็นอักษรที่ย่อมาจากคำเต็ม คือ
: ย มาจาก ยชมาน แปลว่า พราหมณ์บูชายัญ
: ร มาจาก รวิ แปลว่า พระอาทิตย์
: ต มาจาก โตย แปลว่า น้ำ
: ภ มาจาก ภูมิ แปลว่า ดิน
: ช มาจาก ชลน แปลว่า ไฟ
: ส มาจาก โสม แปลว่า พระจันทร์
: ม มาจาก มารุต แปลว่า ลม
: น มาจาก นภ แปลว่า ฟ้า
 
กำชัย<ref name="kamchai">กำชัย ทองหล่อ. '''หลักภาษาไทย'''. รวมสาส์น (1977) : กรุงเทพฯ, 2545.</ref> ได้แต่งคำคล้องจองไว้สำหรับจำ '''คณะ''' ไว้ดังนี้
: ย ยะยิ้มยวน (ลหุ-ครุ-ครุ)
: ร รวนฤดี (ครุ-ลหุ-ครุ)
: ส สุรภี (ลหุ-ลหุ-ครุ)
: ภ ภัสสระ (ครุ-ลหุ-ลหุ)
: ช ชโลมและ (ลหุ-ครุ-ลหุ)
: น แนะเกะกะ (ลหุ-ลหุ-ลหุ)
: ต ตาไปละ (ครุ-ครุ-ลหุ)
: ม มาดีดี/มาดี ๆ (ครุ-ครุ-ครุ)
 
เมื่อแยกพยางค์แล้ว จะได้ ครุ-ลหุ เต็มตามคณะทั้ง 8 (ชื่อคณะนี้ ไม่สู้จำเป็นในการเรียนฉันทลักษณ์ไทยนัก เพราะมุ่งจำครุ-ลหุกันมากกว่าจำชื่อคณะ เท่าที่จัดมาให้ดูเพื่อประดับความรู้เท่านั้น)
 
=== พยางค์ ===