ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาลหัวเฉียว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
รูปภาพ
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
{{แหล่งอ้างอิงปฐมภูมิ|date=กันยายน 2565}}
 
{{กล่องข้อมูล โรงพยาบาล
| ภาพ = Bangkok 2013 april - panoramio (20).jpg
| ภาพ = [[ไฟล์:/อาคารโรงพยาบาลหัวเฉียว-4.jpg|thumb|left|alt=โรงพยาบาลหัวเฉียว|''วิกิพีตัง'']]
| ชื่อ = โรงพยาบาลหัวเฉียว
| ชื่ออังกฤษ = Hua Chiew Hospital
เส้น 7 ⟶ 10:
| ผู้อำนวยการ =
| จำนวนเตียง = 338 เตียง<ref>[http://www.hc-hospital.com/services-medical.html]</ref>
| ที่ตั้ง = 665 [[ถนนบำรุงเมือง]] แขวงคลองมหานาค [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[10100]]
| เว็บไซต์ = [http://www.hc-hospital.com โรงพยาบาลหัวเฉียว]
}}
'''โรงพยาบาลหัวเฉียว''' ({{lang-zh|c=华侨}}; [[พินอิน]]: ''|p=Huáqiáo''}}) เป็น[[รายชื่อโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย|โรงพยาบาลเอกชน]]ทั่วไป (General Hospital) ที่ไม่มุ่งแสวงหาผลกำไร ในสังกัดมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ให้บริการทุกสาขาการแพทย์โรงพยาบาลหัวเฉียว ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง เริ่มจากเป็นสถานพยาบาลผดุงครรภ์เล็กๆ เปิดให้บริการทำคลอด ทั้งในและนอกสถานที่ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2481 มีสถิติคนไข้นอกเพิ่มขึ้นเป็นลำดับจนสถานที่ไม่สามารถรองรับผู้มารักษาได้ แม้แต่ใน ช่วงปี พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่กรุงเทพฯ ถูกโจมตี แพทย์และพยาบาลยังคงให้บริการทำคลอดและรักษาพยาบาลอย่างไม่ย่อท้อ
 
เมื่อสงครามสิ้นสุดลงเนื่องจากประชากรในกรุงเทพฯเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คณะกรรมการบริหารมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งดำริให้ย้ายโรงพยาบาลฯ จากบริเวณหลังวัดเทพศิรินทราวาสมายังสถานที่ตั้งปัจจุบัน โดยหันหน้าออกทางถนนกรุงเกษม และเริ่มต้นโครงการก่อสร้างอาคารถาวรและทันสมัยสมบูรณ์แบบขึ้นเพื่อรองรับ การบริการรักษาพยาบาลครอบคลุมทุกสาขาโรคโดยไม่คำนึงถึง เชื้อชาติ ศาสนาและฐานะ
 
อาคาร 22 ชั้น จึงได้กำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2513 ด้วยความร่วมมือและแรงใจของผู้มีจิตศรัทธา บริจาคทรัพย์สมทบทุนก่อสร้างและจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์อย่างไม่ขาดสาย การก่อสร้างเสร็จสิ้นลงในปี พ.ศ. 2521 และเปิดบริการในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2521 เป็นต้นมา2521
 
และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2522 นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นเมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจาอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ฯ ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดอาคาร 22 ชั้น  โรงพยาบาลหัวเฉียว อย่างเป็นทางการ
 
และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นเมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจาอยู่หัวพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ฯ ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดอาคาร 22 ชั้น  โรงพยาบาลหัวเฉียว อย่างเป็นทางการ
ปัจจุบัน โรงพยาบาลหัวเฉียว เติบโตก้าวหน้าขึ้นเป็นโรงพยาบาลทั่วไป (GENERAL HOSPITAL) ให้บริการทุกสาขาการแพทย์ และมุ่งมั่นที่จะดำเนินตามรอยปณิธานของหลวงปู่ไต้ฮง พร้อมให้บริการด้วยคุณภาพมาตรฐาน HA (Hospital Accreditation)
<references />
<ref>{{Cite web|title=โรงพยาบาลหัวเฉียว--HUA CHIEW HOSPITAL|url=http://www.hc-hospital.com/about-huachiew.html|access-date=2021-01-03|website=www.hc-hospital.com}}</ref>
 
ปัจจุบัน โรงพยาบาลหัวเฉียว เติบโตก้าวหน้าขึ้นเป็นโรงพยาบาลทั่วไป (GENERAL HOSPITAL) ให้บริการทุกสาขาการแพทย์ และมุ่งมั่นที่จะดำเนินตามรอยปณิธานของหลวงปู่ไต้ฮง พร้อมให้บริการด้วยคุณภาพมาตรฐาน HA (Hospital Accreditation)<ref>{{Cite web|title=โรงพยาบาลหัวเฉียว--HUA CHIEW HOSPITAL|url=http://www.hc-hospital.com/about-huachiew.html|access-date=2021-01-03|website=www.hc-hospital.com}}</ref>
== สัญลักษณ์โรงพยาบาล ==
[[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์โรงพยาบาล.jpg|thumb|184x184px|ตราสัญลักษณ์โรงพยาบาลหัวเฉียว]]
 
== อ้างอิง ==