ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|ปรับภาษา=yes|จัดรูปแบบ=yes}}<gallery mode="packed-overlay" widths="500" caption="[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงตรวจกำลังพลสวนสนาม">
ไฟล์:2ธันวาคม2542.jpg|alt=
</gallery>'''พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์''' จัดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเริ่มจัดพิธีนี้อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ พ.ศ. 2504 เนื่องในโอกาส [[พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9|วันเฉลิมพระชนพรรษา]] [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช]] จนถึงปัจจุบัน
ไฟล์:071202 king's speech March.jpg|alt=
ไฟล์:Trooping the colours 02122547 Krabidhuj Krutpah.jpg|alt=
</gallery>'''พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์''' จัดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเริ่มจัดพิธีนี้อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ พ.ศ. 2504 เนื่องในโอกาส [[พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9|วันเฉลิมพระชนพรรษา]] [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช]] จนถึงปัจจุบัน
 
== ประวัติการจัดพิธีฯ ==
แต่เดิมพิธีนี้มิได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี หากแต่จัดเป็นครั้งคราวตามที่[[กระทรวงกลาโหม]]หรือ[[กองทัพบก]]จะกำหนด ปรากฏมีบันทึกว่า พิธีนี้เริ่มขึ้นครั้งแรกในรัชกาลที่ 9 ในปี พ.ศ. 2496 สมัยที่[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล แปลก พิบูลสงคราม]]เป็น[[รายชื่อนายกรัฐมนตรีของไทย|นายกรัฐมนตรี]] โดยจัดให้มีขึ้น เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา[[กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์]] (ร.1 รอ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายน และเพื่อตอบแทนพระมหากรุณาธิคุณที่[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทาน[[ธงไชยเฉลิมพล]] เพื่อใช้แทนธงไชยเฉลิมพลของเดิม โดยมี[[กฤษณ์ สีวะรา|พลเอก .อ.กฤษณ์ สีวะรา]] ผู้บังคับการ ร.1 รอ.ในขณะนั้น เป็นผู้บังคับการขบวนสวนสนาม และทหารสังกัด ร.1 รอ. เป็นพลสวนสนาม
 
หลังจากพิธีในครั้งนั้นก็ได้ว่างเว้นมาอีกเป็นเวลาหลายปี จนถึงสมัยที่[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]เป็นนายกรัฐมนตรี ได้กำหนดให้มีการถวายพระเกียรติเนื่องในโอกาสที่[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] และ [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จพระราชดำเนินนิวัตพระนคร หลังจากทรงเสร็จสิ้นพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศใน[[ทวีปยุโรป]]และ[[สหรัฐอเมริกา]] โดยได้จัดพิธีสวนสนามของบรรดา[[ทหารบก]] [[ทหารเรือ]] และ [[ทหารอากาศ]] เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2504 ซึ่ง[[รัฐบาล]]ในขณะนั้นประกาศให้เป็น "วันพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม" แต่ทหารทั้งสามเหล่าแต่งกายด้วยเครื่องแบบของแต่ละเหล่าทัพ มิได้แต่งเครื่องแบบเต็มยศ
 
ต่อมาในวันที่ 5 ธันวาคม ปีเดียวกัน จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ มีบัญชาให้ [[กองพลที่ 1 รักษาพระองค์]] (พล.1 รอ.) จัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ เนื่องในโอกาส [[พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในรัชกาลที่ 9|วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้หน่วยทหารรักษาพระองค์ใน[[กรุงเทพมหานคร]]เข้าร่วมพิธี จำนวนทั้งหมด 8 กองพัน จัดเป็น 2 กรมสวนสนาม มีรายละเอียดดังนี้
* '''กรมสวนสนามที่ 1''' จำนวน 4 กองพัน
**# กรมนักเรียนนายร้อย [[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] (กรม นนร. รอ. รร.จปร.) จำนวน 1 กองพัน
**#[[กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์]] (ร.1 รอ.) จำนวน 3 กองพัน
* '''กรมสวนสนามที่ 2''' จำนวน 4 กองพัน
**#[[กรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์]] (ร.11 รอ.) จำนวน 1 กองพัน
**# [[กองพันทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์]] (ม.พัน 1 รอ.) จำนวน 1 กองพัน (ในครั้งนั้น ไม่ได้ใช้[[ม้า]]เข้าร่วมพิธี)
**# [[กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์]] (ป.พัน 1 รอ.) จำนวน 1 กองพัน
**#[[กองพันทหารช่างที่ 1 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์|กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์]] (ช.พัน 1 รอ.) จำนวน 1 กองพัน
 
นับจากนั้นเป็นต้นมา พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามฯ ที่จัดขึ้นในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ นี้ ก็ได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ณ [[พระลานพระราชวังดุสิต]] หลังจากนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม กำหนดให้วันที่ [[3 ธันวาคม]] ของทุกปี เป็นวันพิธีฯ เนื่องจากต้องการให้ได้ทรงพักผ่อนพระวรกายในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ซึ่งในช่วงระหว่างนั้น ([[4 ธันวาคม|4]] และ [[6 ธันวาคม]]) มีพระราชกรณียกิจหลายประการอันเกี่ยวเนื่องกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เส้น 26 ⟶ 24:
== ตัวอย่างการจัดหน่วยสวนสนามในพิธีฯ ประจำปี พ.ศ. 2548 ==
* '''กรมทหารรักษาพระองค์ที่ 1''' จำนวน 4 กองพัน
**# กองบังคับการกรม จัดจาก กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ (ร.1 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 1 จัดจาก กองพันทหารราบที่ 2 [[กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์]] (ร.1 พัน.2 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 2 จัดจาก [[กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ที่ 1|กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์]] (ร.1 พัน.3 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 3 จัดจาก กองพันทหารราบที่ 2 [[กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์]] (ร.2 พัน.2 รอ.)
* '''กรมทหารรักษาพระองค์ที่ 2''' จำนวน 4 กองพัน
**# กองบังคับการกรม จัดจาก กรมนักเรียนนายเรืออากาศ รักษาพระองค์ (กรม นนอ. รอ. รร.นอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 4 จัดจาก กองพันนักเรียนนายร้อย [[กรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์]] [[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] (พัน.นนร. รอ. รร.จปร.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 5 จัดจาก กองพันนักเรียนนายเรือ [[กรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์]] [[โรงเรียนนายเรือ]] (พัน.นนร.รอ. รร.นร.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 6 จัดจาก กองพันนักเรียนนายเรืออากาศ [[กรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์]] [[โรงเรียนนายเรืออากาศ]] (พัน.นนอ.รอ. รร.นอ.)
* '''กรมทหารรักษาพระองค์ที่ 3''' จำนวน 4 กองพัน
**# กองบังคับการกรม จัดจาก [[กรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์]] (ร.11 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 7 จัดจาก กองพันทหารราบที่ 1 [[กรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์]] (ร.11 พัน.1 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 8 จัดจาก [[กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์]] (ป.พัน.1 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 9 จัดจาก [[กองพันทหารช่างที่ 1 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์|กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์]] (ช.พัน.1 รอ.)
* '''กรมทหารรักษาพระองค์ที่ 4''' จำนวน 4+1 กองพัน
**# กองบังคับการกรม จัดจาก [[กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์]] (ร. 21 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 10 จัดจาก กองพันทหารราบที่ 3 [[กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์]] (ร.21 พัน.3 รอ.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 11 จัดจาก [[กองพันทหารราบที่ 9 รักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 3 กองพลนาวิกโยธิน]] (ร.3 พัน.9 รอ. พล.นย.)
**# กองพันทหารรักษาพระองค์ที่ 12 จัดจาก กองพันอากาศโยธินที่ 1 [[กรมทหารอากาศโยธินรักษาพระองค์]] [[หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน]] (พัน.อย. 1 รอ. บก.อย.บยอ.)
* '''[[กองพันทหารม้าที่ 29 รักษาพระองค์]]''' (ม.พัน.29 รอ.)