ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ณรงค์ กิตติขจร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10178813 สร้างโดย 2001:FB1:182:9E57:5CFD:1436:2C8E:FD3E (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
}}
 
พันเอก '''ณรงค์ กิตติขจร''' ([[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2476]] - ปัจจุบัน) เป็นอดีต[[ทหาร|นายทหาร]], อดีต[[นักการเมือง]] และเป็นบุตรชายของอดีต[[ถนอม กิตติขจร|นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 10 จอมพล [[ถนอม กิตติขจร]] อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ [[ประภาส จารุเสถียร|จอมพล ประภาส จารุเสถียร]]
 
== ประวัติ ==
เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุดใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลา|เหตุการณ์]] 14 ตุลาปี 2516]] ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และจอมพล ประภาส จารุเสถียร ต้องออกจากประเทศภายหลังเหตุการณ์สงบลง พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยเข้าร่วมงานกับ[[พรรคเสรีนิยม]] และเขาได้รับเลือกเป็น ส.ส. ด้วยกัน 2 สมัย นอกจากนี้แล้ว พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ยังถูกสงสัยว่าอยู่เบื้องหลังการบงการสั่งฆาตกรรมนักธุรกิจและศัตรูทางการเมืองอีกมากมาย โดยอาศัยอำนาจที่มีอยู่ในสมัยที่รุ่งเรือง ปิดคดีความต่างๆ และไม่ถูกหยิบยกขึ้นมากล่าวถึงอีกเลย
 
== ชีวิตส่วนตัว ==
พ.อ.ณรงค์ เป็นบุตรชายของ จอมพล [[ถนอม กิตติขจร]] อดีตนายกรัฐมนตรี และเป็นบุตรเขยของ [[ประภาส จารุเสถียร|จอมพล ประภาส จารุเสถียร]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]] และ[[รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย|อธิบดีกรมตำรวจ]] เพราะได้สมรสกับ[[สุภาพร กิตติขจร|นางสุภาพร กิตติขจร]] บุตรสาวคนที่ 3 ของจอมพล ประภาส ซึ่งรู้จักคุ้นเคยกับมาตั้งแต่อายุได้ 5 - 6 ขวบ และได้ขอแต่งงานเมื่อคุณสุภาพรอายุได้เพียง 18 ปีเท่านั้น (ในขณะนั้น พ.อ.ณรงค์ ติดยศ"ร้อยตรี") โดยมีบุตร-ธิดารวม 4 คน ได้แก่
*พล.อ.เกริกเกียรติ กิตติขจร สมรสกับ นัฎฐา กิตติขจร มีบุตรสาว ชื่อ กนกรส กิตติขจร และบุตร ชื่อ กฎเกณฑ์ กิตติขจร
*นายกรกาจ กิตติขจร (เสียชีวิตแล้ว) ใน เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2557<ref>[https://www.taradplaza.com/_tarad/_templates/b/_modules/view_image2.php?shopurl=lovesiamoldbook&picname=http://img.tarad.com/shop/l/lovesiamoldbook/img-lib/spd_20140525133310_b.JPG หนังสือที่ระลึกพระราชทานเพลิงศพ]</ref> สมรสกับ ประพจนีย์ กิตติขจร มีบุตร ชื่อ กิตติพจน์ กิตติขจร
บรรทัด 39:
 
== การรับราชการ ==
[[ไฟล์:G149_jpg.jpg|thumb|200px|right|เฮลิคอปเตอร์ลำนี้ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นคนสั่งยิงลงมาใส่กลุ่มผู้ชุมนุมเบื้องล่าง ใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] ]]
พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐประหาร ([[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514|รัฐประหารในประเทศไทย 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514]]) เมื่อการรัฐประหารเสร็จสิ้นลง ได้ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการ[[คณะกรรมการตรวจและติดตามผลการปฏิวัติราชการ]] (ก.ต.ป.) และเป็นผู้บังคับบัญชา กองพันทหารราบที่ 2 [[กรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์|กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์]] (ร.11 พัน.2 รอ.)
 
หลังจากเหตุการณ์รัฐประหารครั้งนี้แล้ว พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร เป็นที่คาดหมายว่าจะเป็นผู้สืบทอดอำนาจต่อจาก[[ถนอม กิตติขจร|จอมพลถนอม กิตติขจร]] ผู้เป็นพ่อ เพราะด้วยสถานการณ์ในเวลานั้น ปรากฏข่าวการคอร์รัปชั่นกันอย่างกว้างขวางรวมทั้งการใช้อำนาจไปในทางที่มิชอบด้วย เช่น กรณีเฮลิคอปเตอร์ของทหารตกที่ [[อำเภอบางเลน|อ.บางเลน]] [[จังหวัดนครปฐม|จ.นครปฐม]] เมื่อวันที่ [[29 เมษายน]] [[พ.ศ. 2516]] เป็นต้น ทางรัฐบาลได้แก้ปัญหาด้วยการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติราชการ หรือ ก.ต.ป. ขึ้นมาเพื่อจัดการปัญหาการคอร์รัปชั่น แต่กลับมี พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ซึ่งเป็นลูกชายนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแล จึงไม่มีความเชื่อมั่นว่าจะสามารถจัดการปัญหาได้อย่างแท้จริง ดังนั้นเมื่อเกิด[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] ขึ้น ประชาชนส่วนหนึ่งที่โกรธแค้นจึงได้เผาทำลายอาคารของสำนักงานแห่งนี้ ที่ตั้งอยู่ ณ [[สี่แยกคอกวัว]]
 
ส่วนบทบาทของ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขึ้นเฮลิคอปเตอร์และเป็นผู้กราดยิงกระสุนจริงจากเฮลิคอปเตอร์ลงมายังผู้ชุมนุมที่อยู่เบื้องล่าง แต่ พ.อ.ณรงค์ ได้ปฏิเสธในเรื่องนี้มาโดยตลอด
บรรทัด 48:
== การเมือง ==
 
หลังสถานการณ์ทางการเมืองสงบลง พ.อ.ณรงค์ ได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย และลงสมัคร [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา|ส.ส. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] สังกัด[[พรรคชาติไทย]] ในปี พ.ศ. 2526 และเข้าร่วมกับพรรคการเมืองชื่อพรรค "[[พรรคเสรีนิยม|เสรีนิยม]]" ซึ่งมี [[ปรีดา พัฒนถาบุตร]] เป็นหัวหน้าพรรค และต่อมาได้เปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารโดย พ.อ.ณรงค์ เข้ารับตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน เขาได้ลงสมัคร ส.ส. ในจังหวัดเดิม ได้รับเลือกตั้งมาอีก 2 สมัย ในปี พ.ศ. 2529 และ พ.ศ. 2531 และ ยังได้รับแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปี 2534
 
ในเดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] นาย[[เทพมนตรี ลิมปพยอม]] นักวิชาการอิสระด้านประวัติศาสตร์ ได้เปิดตัวหนังสือมา 2 เล่ม ชื่อ ''"ลอกคราบ 14 ตุลา ดักแด้ประวัติศาสตร์การเมืองไทย"'' และ ''"พันเอกณรงค์ กิตติขจร 30 ปี 14 ตุลา ข้อกล่าวหาที่ไม่สิ้นสุด"'' โดยมีเนื้อหาอ้างอิงจากเอกสารราชการลับในเหตุการณ์ 14 ตุลา ซึ่งมีเนื้อหาว่าทั้ง พ.อ.ณรงค์ และจอมพล ถนอม มิได้เป็นผู้สั่งการในเหตุการณ์ 14 ตุลา<ref>ประวัติศาสตร์การศึกษา วันมหาวิปโยค 14 ตุลา 16 - 6 ตุลา 19 โดย แปลก เข็มพิลา ISBN 974-7753-87-1</ref> <ref>{{Cite web |url=http://www.manager.co.th/politics/ViewNews.aspx?NewsID=4658121163248 |title=''ณรงค์''โยน''พล.อ.กฤษณ์'' ต้นเหตุความรุนแรง14ต.ค. |access-date=2007-06-05 |archive-date=2011-01-24 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110124074808/http://www.manager.co.th/politics/ViewNews.aspx?NewsID=4658121163248 |url-status=dead }}</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ป.ช.|2532}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/214/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นสายสะพาย)]เล่ม ๑๐๖ ตอน ๒๑๔ ง ฉบับพิเศษ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ หน้า ๑</ref>
 
{{ป.ม.|2530}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/D/247/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์]</ref>
 
{{ต.จ.ฝ่ายหน้า|2505}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2505/D/046/1249.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม 79, ตอน 46, 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2505, หน้า 1249</ref>
กิจจานุเบกษา{{ช.ส.เกาหลี|ปี=2504}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2504/D/012/321.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ ] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 78 ตอนที่ 12 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2504 </ref>{{ช.ส.เวียดนาม(เปลวเพลิง)|ปี=2512}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/D/002/10.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ] เล่ม 86 ตอนที่ 2 ราชกิจจานุเบกษา 6 มกราาคม 2512 </ref>{{ส.ช.2/1}}
 
{{ช.ส.เกาหลี|2504}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2504/D/012/321.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ ] ราช
กิจจานุเบกษา เล่ม 78 ตอนที่ 12 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2504 </ref>{{ช.ส.เวียดนาม(เปลวเพลิง)|ปี=2512}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/D/002/10.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ] เล่ม 86 ตอนที่ 2 ราชกิจจานุเบกษา 6 มกราาคม 2512 </ref>{{ส.ช.2/1}}
{{กาชาดสรรเสริญ}}