ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซมินารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9966125 สร้างโดย 223.205.16.17 (พูดคุย)
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล|date=กรกฎาคม 2022}}
'''เซมินารี'''<ref name="ศาสนา...พลังสำคัญของชีวิต">[http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/buddhism_life.htm ศาสนา...พลังสำคัญของชีวิต] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170611163442/http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/buddhism_life.htm |date=2017-06-11 }}. [[วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล]]. เรียกข้อมูลวันที่ 25 ก.พ. พ.ศ. 2554.</ref> ({{lang-en|'''Seminary'''}}) บางตำราเรียกว่า'''สำนักเสมินาร์'''<ref>ปาลเลกัวซ์, มงเซเญอร์, ''เล่าเรื่องกรุงสยาม'', แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร, กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2549</ref> ชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่า'''สามเณราลัย''' เป็นสถาบันการศึกษาสำหรับฝึกบุรุษเพื่อเตรียมบวชเป็น[[บาทหลวง]] นอกจากชื่อนี้แล้ว บางที่ก็เรียกว่า'''วิทยาลัยเทววิทยา''' (theological college) '''วิทยาลัยศาสนศาสตร์''' (divinity school) นักเรียนเซมินารีเรียกว่า'''เซมินาเรียน''' (seminarian) หรือ'''เซมินาริสต์''' (seminarist)
 
==การศึกษา==
เมื่อเด็กชายสมัครใจจะเป็น[[บาทหลวง]] เมื่อจบการศึกษาชั้น ป. 6 จะต้องติดต่อกับ[[อธิการโบสถ์]]ที่ตนเองสังกัดเพื่อให้ท่านออกเอกสารรับรอง จากนั้นจึงเข้าเรียนที่'''เซมินารีเล็ก'''ซึ่งจะมีอยู่ในทุก[[มุขมณฑล]] กรณีที่ต้องการเป็นบาทหลวงประจำ[[คณะนักบวชคาทอลิก]] ก็จะต้องเข้าเซมินารีซึ่งแต่ละคณะจะมีเป็นของตนเอง เมื่อเรียนจบชั้น ม.6 ที่เซมินารีเล็กแล้วจึงฝึกอบรมอีกหนึ่งหรือสองปีเพื่อเข้าเรียนต่อที่'''เซมินารีกลาง''' 1 ปี จากนั้นจึงเข้าเรียนที่'''เซมินารีใหญ่''' (major seminary) ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษา<ref name="บาทหลวง">วรยุทธ กิจบำรุง, บาทหลวง, ''บาทหลวง", กรุงเทพฯ: สื่อมลชนคาทอลิกประเทศไทย, 2546, หน้า 17-22</ref> ผู้จบที่เซมินารีใหญ่จะได้รับวุฒิบัณฑิตทางเทววิทยาหรือปรัชญาตามแต่สาขาที่เรียน จากนั้นจึงฝึกงานต่อใน[[มุขมณฑล]]หรือใน[[คณะนักบวชคาทอลิก]]ที่ตนเองจะสังกัดเพื่อเตรียมบวชเป็นบาทหลวงต่อไป
 
==เซมินารีในประเทศไทย==