ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลตัส (ห้างสรรพสินค้า)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขแหล่งอ้างอิง
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
ภายหลังการควบรวมธุรกิจจึงได้เปลี่ยนแปลงชื่อมาเป็น '''เทสโก้ โลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์''' ในช่วงแรกแล้วจึงเปลี่ยนชื่อเป็น '''เทสโก้ โลตัส''' นับตั้งแต่นั้น โดยใช้ [[สีน้ำเงิน]] เป็นโทนสีของห้าง โดยในช่วงแรกกลุ่มซีพียังคงถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 25 แต่ภายหลังก็ได้ทยอยขายหุ้นออกไปจนในช่วงปลายปี พ.ศ. 2545 กลุ่มซีพีถือหุ้นอยู่ไม่ถึงร้อยละ 1 จึงตัดสินใจขายหุ้นที่เหลือทั้งหมดออกไปในปีนี้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษาภาพลักษณ์ของ [[ธนินท์ เจียรวนนท์]] ให้สามารถให้ความเห็นเรื่องค้าปลีกได้อย่างมีจุดยืน<ref>[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=4096&fbclid=IwAR1G66G1JQ9gO9GVUO-glSDAtSVVAdjf-sImBAC_GkIuxV17zgE3n1LQLz8 ซีพีขายทิ้งเทสโก้โลตัส-แม็คโคร สยบข่าวอุ้มยักษ์ค้าปลีก ] ผู้จัดการรายวัน เผยแพร่เมื่อ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม พ.ศ. 2564</ref> ใน ปี พ.ศ. 2544 เทสโก้ โลตัส ได้เริ่มขยายรูปแบบสาขาในรูปแบบร้านสะดวกซื้อภายใต้ชื่อ '''เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส''' สาขาแรกย่าน[[ถนนรามอินทรา|รามอินทรา]] โดยเกิดขึ้นเพื่อรองรับพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้าที่เปลี่ยนไปสู่การมองหาความสะดวกสบายในการจับจ่ายสินค้าใกล้บ้าน<ref name=lotushistory/> ก่อนที่ ในปี พ.ศ. 2546 จะเปิดบริการ "เทสโก้ โลตัส คุ้มค่า" สาขาแรกที่[[จังหวัดร้อยเอ็ด]] และ "เทสโก้ โลตัส ซูเปอร์มาร์เก็ต" สาขาแรกที่[[พงษ์เพชร]]<ref>[https://www.jobtopgun.com/content/profile/tesco/index.jsp?id_emp=1097&name=Tesco+Lotus+&count=0&p=1&code= บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิทเทม จำกัด] www.jobtopgun.com สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน พ.ศ. 2564</ref><ref>[https://web.archive.org/web/20050216123023/http://www.tescolotus.com/search/StoreLocation.asp สาขาเทสโก้ โลตัส] Tescolotus.com ผ่านทาง wayback machine สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน พ.ศ. 2564</ref> นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น เทสโก้ โลตัส ยังมีรูปแบบสาขา "ดีพาร์ทเมนต์สโตร์" อีกด้วย
 
ในปี พ.ศ. 2554 หลังจากที่เทสโก้ โลตัส แพ้การประมูลกิจการ[[คาร์ฟูร์]]ให้กับกลุ่มคาสิโน เจ้าของ[[บิ๊กซี]]ในประเทศไทยในขณะนั้น และทางบิ๊กซีได้ประกาศใช้แบรนด์ "เอ็กซ์ตร้า" ในการปรับปรุงสาขาคาร์ฟูร์ที่เหลือเกือบทั้งหมด เทสโก้ โลตัส ได้พัฒนารูปแบบสาขา '''เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า''' ขึ้นมาแข่งอีกหนึ่งรูปแบบ และตั้งเป้าหมายเป็น "พารากอน ของตลาดไฮเปอร์มาร์เก็ต" โดยเริ่มจากการปรับปรุงใหญ่ของสาขาพระรามที่ 4 ที่มี ''บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า'' ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามถนน เพื่อรองรับกลุ่มเป้าหมายในระดับ A+ เน้นสินค้านำเข้า เพิ่มสินค้าใหม่ ๆ ที่ไม่เคยจำหน่ายมาก่อนในเทสโก้ มีความพิเศษด้านความสะดวกสบาย รวมถึงบรรยากาศที่ปลอดโปร่ง<ref>[https://mgronline.com/business/detail/9540000060033{{Cite web|date=2011-05-17|title=เจาะเนื้อใน “เอ็กซ์ตร้า” ฉบับเทสโก้ ปะทะ บิ๊กซี แค่ยกแรกก็สนุกแล้วเผยแพร่] 17 พ|url=https://mgronline.com/business/detail/9540000060033|website=mgronline. 2554 08:17 โดย: MGR Onlinecom|language=th}}</ref><ref>[https://positioningmag.com/13943{{Cite web|last=|date=2011-08-10|title=เมื่อซีอีโอ เทสโก้ โลตัส พาทัวร์บิ๊กซี] |url=https://positioningmag.com/13943|url-status=live|website=Positioning By admin August 10, 2011Magazine|language=th}}</ref>
 
=== การขายกิจการในประเทศไทยให้กับกลุ่มซีพี ===
บรรทัด 46:
ต่อมากลุ่มเทสโก้ได้เปิดรับข้อเสนอจากเอกชนทั้งสามราย คือ [[บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์|บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)]] [[เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น|บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] และ บริษัท ซี.พี. รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด ผลปรากฏว่า บริษัท ซี.พี. รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด อันเป็นกิจการร่วมค้าเฉพาะกิจที่ถือหุ้นโดย [[เครือเจริญโภคภัณฑ์|บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด]] [[ซีพี ออลล์|บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน)]] และ บริษัท ซี.พี. เมอร์แชนไดซิ่ง จำกัด เป็นผู้เสนอราคาประมูลสูงสุดที่ 338,445 ล้านบาท โดย ซี.พี. รีเทล ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2563 กระบวนการซื้อขายทั้งหมดแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
 
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โลตัสได้มีเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ เปลี่ยนโลโก้ใหม่เป็น Lotus’s โดยตัดคำว่า Tesco ออกและเติม ’s เข้าไป พร้อมปรับใช้สีโทนพาสเทลให้ทันสมัยขึ้น และนำร่องการเปลี่ยนแปลงนี้ที่สาขาเลียบทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา (ติดกับเซ็นทรัล อีสต์วิลล์) เป็นแห่งแรก<ref>[https://www.prachachat.net/marketing/news-613823{{Cite web|last=|date=2021-02-15|title=เทสโก้ โลตัส รีแบรนด์ใหม่ สู่ “โลตัส ” (Lotus’s)]|url=https://www.prachachat.net/marketing/news-613823|url-status=live|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และในโอกาสเดียวกัน โลตัส ได้เปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของ Tesco Lotus Express และ Tesco Lotus ตลาด บางสาขา ให้เป็น โลตัส โก เฟรช โดยเริ่มที่สาขาเอกชัย 89 เป็นสาขาแรก ก่อนจะปรับปรุงให้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปี 2565 และในเดือนกันยายนปีเดียวกัน โลตัส ยังได้รับโอนกิจการ ซีพี เฟรชมาร์ท และ ซีพี เฟรช ทั้งหมดจากซีพีเอฟ เพื่อนำมาปรับปรุงให้เป็น โลตัส โก เฟรช ด้วยเช่นกัน
 
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค สมาคมนักกฎหมายคุ้มครองสิทธิและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ 37 องค์กรผู้บริโภคและผู้บริโภคทั่วประเทศ ยื่นฟ้องคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ในกรณีที่คณะกรรมการมีมติ 4 ต่อ 3 อนุญาตให้กลุ่มซีพีเข้าควบรวมกิจการเทสโก้ โลตัสในประเทศไทยได้ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มซีพีมีส่วนแบ่งทางการตลาดในกลุ่มโมเดิร์นเทรดสูงถึง 83.97% ถือเป็นการผูกขาดทางการค้าอย่างรุนแรง ส่งผลกระทบต่อกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจรายย่อย และส่งผลต่อภาพรวมของระบบเศรษฐกิจในประเทศ เนื่องจากกลุ่มซีพีเป็นบริษัทด้านการเกษตรและการอุปโภคบริโภคขนาดใหญ่ มีธุรกิจครอบคลุมการดำรงชีวิตของประชาชนตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ<ref>[{{Cite news|title=กลุ่มผู้บริโภคฟ้องศาลให้เพิกถอนมติ กขค. ไฟเขียวซีพีควบรวมเทสโก้|language=th|work=BBC News ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56398660 ซีพี: ภาคประชาชนยื่นฟ้องศาลปกครองให้เพิกถอนมติคณะกรรมการแข่งขันทางการค้าไฟเขียวเทสโก้ |access- ซีพี ควบรวมกิจการ]date=2022-06-18}}</ref> โดยคดีดังกล่าวมีสำนักผู้ตรวจการแผ่นดินรับฟ้องเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2564<ref>[https://www.prachachat.net/marketing/news{{Cite web|last=|date=2021-639848 03-30|title=ซีพีงานเข้า ผู้ตรวจการแผ่นดินรับคำร้องควบรวมเทสโก้ไม่เป็นธรรม]|url=https://www.prachachat.net/marketing/news-639848|url-status=live|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และศาลปกครองกลางมีคำสั่งรับฟ้องเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2564<ref>[https://thestandard.co/resolution{{Cite web|date=2021-to04-combine-cp-and-tesco-may-not-be-legitimate/ 03|title=ศาลปกครองรับฟ้อง และให้พิจารณาโดยเร่งด่วน กรณี กขค. มีมติควบรวมซีพีและเทสโก้ อาจไม่ชอบด้วยกฎหมาย]|url=https://thestandard.co/resolution-to-combine-cp-and-tesco-may-not-be-legitimate/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref> อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ศาลปกครอง ได้ยกคำรองทั้งหมดโดยให้เหตุผลว่าไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ พ.ร.บ. แข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560 กำหนด จึงยังไม่มีเหตุที่จะรับฟังได้ว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ได้แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่ามติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ร่วมกับที่ประชุมของกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้มีมติให้ [[สยามแม็คโคร|บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)]] รับโอนกิจการของ บริษัท ซี.พี. รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด ทั้งหมด อันประกอบด้วย บริษัท ซี.พี. รีเทล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (บริษัท เทสโก้ สโตร์ (เอเชีย) จำกัด เดิม), บริษัท โลตัส สโตร์ (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท โลตัส สโตร์ (มาเลเซีย) จำกัด และบริษัท เอก-ชัย ดิสทิบิวชัน ซิสเท็ม จำกัด ซึ่งจะช่วยให้แม็คโครและโลตัสสามารถบริหารงานกันเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น และเป็นการลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกลุ่มซีพีอีกด้วย
 
== รูปแบบสาขา ==
บรรทัด 91:
 
== นโยบายสวัสดิภาพสัตว์ ==
[[องค์การนอกภาครัฐ|เอ็นจีโอ]][[สมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลก]] (อังกฤษ: World Animal Protection) ได้รายงานว่าเทสโก้โลตัสใช้กรงสำหรับการตั้งครรภ์ (อังกฤษ: [[:en:Gestation_crate|sow stalls]]) ในกระบวนการผลิตเนื้อหมู กระบวนการนี้ขอบเขตสุกรตัวเมียในกรงที่มันขนาดเท่ากับตู้เย็นเพื่อที่จะใช้สุกรต้วเมียเป็นเครื่องเพาะพันธุ์ (อังกฤษ: "breeding machines") กระบวนการแบบนี้ก็ผิดกฎหมายที่หลายประเทศ ยกตัวอย่างเช่นประเทศอังกฤษตั้งแต่ปี 2542 เอ็นจีโอสมาคมพิทักษ์สัตว์แห่งโลกได้ประสบความสำเร็จในการชักชวนบริษัท[[เจริญโภคภัณฑ์อาหาร]] ว่าเขาจะต้องปล่อยสุกรตัวเมียให้อ่อกกรงภายในปี 2568<ref>[{{Cite web|date=9 May 2019|title=Tesco urged to drop use of sow stalls in its Thai operations|url=https://www.farminguk.com/news/tesco-urged-to-drop-use-of-sow-stalls-in-its-thai-operations_51961.html Tesco urged to drop use of sow stalls in its Thai operations]|url-status=live|website=www.farminguk.com|language=en-gb}}</ref>
 
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2562 เทสโก้โลตัสได้ประกาศเจตนารมณ์ว่าจะสั่งซื้อไข่ไก่จากฟาร์มปลอดกรง (cage-free) เท่านั้นสำหรับทั้งห่วงโซ่อุปทาน