ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยชินวัตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ปี 2539 ยังไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี/ตัดโฆษณา
บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
เส้น 20 ⟶ 19:
 
== ประวัติ ==
ในปี พ.ศ. 2539 มหาวิทยาลัยชินวัตรมีจุดเริ่มต้นมาจากความคิดริเริ่มของ อดีต[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] [[ทักษิณ ชินวัตร|ดร.ทักษิณ ชินวัตร]] และ [[ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์|ศาสตราจารย์ ดร.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์]] ที่จะก่อตั้งมหาวิทยาลัยเอกชน เพื่อช่วยสนับสนุนการพัฒนาภายในประเทศและภูมิภาคใกล้เคียงบวกกับความคิดที่จะพัฒนารูปแบบของ มหาวิทยาลัยให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของ ดร.สุนทร บุญญาธิการ จวบจนกระทั่งปี พ.ศ. 2542 [[ทบวงมหาวิทยาลัย]]จึงอนุญาตให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตรขึ้น มหาวิทยาลัยชินวัตรเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มุ่งเน้นการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้มาซึ่งการเรียนการสอนที่ยอดเยี่ยม การสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ความเป็นผู้นำ การจัดการ ความเป็นนักลงทุน ไปพร้อมๆ กับมาตรฐานจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับสูง โดยบริษัท โอเอไอ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด ได้รับอนุญาตจาก[[ทบวงมหาวิทยาลัย]] เมื่อวันที่ [[27 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2542]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/D/006/31.PDF ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง การจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (มหาวิทยาลัยชินวัตร)]ราชกิจานุเบกษา เล่ม 117 ตอน 6ง วันที่ 20 มกราคม 2543</ref>
 
== สัญลักษณ์ ==
เส้น 32 ⟶ 31:
* ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือ [[สาละลังกา]] (Cannonball tree)
 
== รายชื่ออธิการบดีในอดีตและปัจจุบัน ==
 
*2542 - 2543 ศ. ดร.[[ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์]]
*2543 - 2545 ดร.แสงสันติ์ พานิช (รักษาการอธิการบดี)
เส้น 84 ⟶ 82:
 
== อาคาร ==
* ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอนในสาขาต่างๆ
* ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอนในสาขาต่างๆมากมาย เช่น Sound Lab สำหรับการฝึกการออกเสียงและสนทนาภาษาอังกฤษ ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์วิทยาศาสตร์อันทันสมัย ไม่ว่าจะเป็นทางเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา ห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งติดตั้งอุปกรณ์ระบบดิจิตอลและชิ้นส่วนไมโครคอมพิวเตอร์ และ Operating Systems and Networking Lab ที่เป็นศูนย์รวม IT
* Language Center ตั้งอยู่ใจกลางมหาวิทยาลัย ปัจจุบันมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือให้นักศึกษาพัฒนาความสามารถทางการสื่อสารภาษาอังกฤษ
* [[ห้องสมุดมหาวิทยาลัยชินวัตร]]
* [[ห้องสมุดมหาวิทยาลัยชินวัตร]] มีหนังสือ นิตยสาร และบทความที่ทันสมัยกว่า 30,000 เล่มให้บริการ นอกจากนี้นักศึกษายังสามารถเชื่อมต่ออนไลน์เพื่ออ่านหนังสือและสิ่งพิมพ์อื่นๆเป็นจำนวนหลายหมื่นเล่มได้ตลอด 24 ชั่วโมง
* ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ พร้อมระบบคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยและยังให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
* [[ศูนย์กีฬา]] ที่มีอุปกรณ์กีฬาทันสมัยครบครัน
* บริการรถบัสจากอาคารบีบีดี(ถนนวิภาวดีฯ กรุงเทพฯ)ไป-กลับมหาวิทยาลัยชินวัตร วิทยาเขตหลัก จ. ปทุมธานี
* โรงอาหารของมหาวิทยาลัยเปิดให้บริการจำหน่ายอาหารเกือบตลอดทั้งวันในช่วงเปิดภาคเรียน แต่ในช่วงที่โรงอาหารปิด นักศึกษาก็สามารถหาซื้ออาหารกล่อง หรืออาหารสำเร็จรูปได้ที่ร้านมินิมาร์ทภายในมหาวิทยาลัยฯ หรือภายในหอพัก
* หอพักนักศึกษา ทางมหาวิทยาลัยฯจัดให้มีหอพักสำหรับนักศึกษาทุกคนที่ศึกษาที่ปทุมธานี ซึ่งปัจจุบันมีอาคารหอพัก 5 ชั้น 2 อาคาร ตั้งอยู่ไม่ไกลจากอาคารหลักภายในมหาวิทยาลัย โดยนักศึกษาใช้เวลาเดินมาเรียนเพียง 6-7 นาทีเท่านั้น ห้องพักจะมีให้เลือก 3 แบบคือ ห้องเดี่ยว ห้องคู่ และห้อง 3 คน โดยทุกห้องจะมีโทรศัพท์ ระบบเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ตู้เย็น และเครื่องทำน้ำอุ่น และในบริเวณใกล้เคียงหอพัก ก็มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย เช่น สถานที่เล่นกีฬา เครื่องหยอดเหรียญซัก-รีด และคลินิกที่มีพยาบาลประจำ นอกเหนือจากนี้ที่หอ 2 ยังมีห้องฟิตเนส คาราโอเกะ โด๊ะพูล ให้บริการแก่นักศึกษาอีกด้วย
 
 
== วิทยาเขต ==
เส้น 106 ⟶ 98:
 
== ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ==
'''หอพัก''' มหาวิทยาลัยได้จัดห้องพักให้กับนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่วิทยาเขตหลัก (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 2 หอพัก แยกชาย-หญิง
{{โฆษณา}}
'''หอพัก'''
* มหาวิทยาลัยได้จัดห้องพักให้กับนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่วิทยาเขตหลัก (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 2 หอพัก แยกชาย-หญิง หอพักละห้าชั้น โดยมี 4 ประเภทให้เลือกคือ พักเดี่ยว พักคู่ พัก 3 คน และพัก 4 คนต่อห้อง ทุกห้องมีเครื่องปรับอากาศ สาย Lan สำหรับใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ ตู้เย็น และน้ำเย็น-ร้อนในห้องอาบน้ำ และยังมีบริการห้องดูทีวี ห้องศึกษาค้นคว้าแบบกลุ่ม ห้องครัว ตลอดจนพื้นที่ใช้สอยเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ
 
'''การดูแลด้านสุขภาพ'''
* ห้องพยาบาล
นักศึกษาทุกคนจะได้รับสิทธิประโยชน์จากการประกันอุบัติเหตุที่จัดให้โดยมหาวิทยาลัย กรณีนักศึกษาประสบอุบัติเหตุ ทางมหาวิทยาลัยจะจัดรถนำผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด และค่ารักษาพยาบาลดังกล่าวจะรับผิดชอบโดยบริษัทประกัน และกรมธรรม์ยังคุ้มครองกรณีที่เสียชีวิต
'''การบริการอื่นๆ'''
* ร้านอาหารและโรงอาหาร
โรงอาหารของมหาวิทยาลัยให้บริการอาหารเช้า กลางวัน และเย็น ตลอดวันจันทร์-อาทิตย์ เวลา 7.30 – 19.30 นาฬิกา และมีครัวฮาลาลและมังสวิรัติที่ใช้เครื่องครัวและภาชนะแยกต่างหาก
 
* การแนะนำให้คำปรึกษา
หากนักศึกษามีเรื่องต่างๆ ที่ต้องการคำปรึกษา ทั้งเรื่องเรียน เรื่องสังคม และเรื่องอื่นๆ นักศึกษาสามารถพูดคุยและปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาได้ตลอดเวลา แต่หากต้องการคำแนะนำผ่านช่องทางอื่นๆมหาวิทยาลัยมีบริการให้คำปรึกษาทั้งทางโทรศัพท์ อีเมล และการให้คำปรึกษาโดยนักจิตวิทยา
 
* สำหรับนักศึกษาต่างชาติ
เจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัยไปรับนักศึกษาและพามามหาวิทยาลัยด้วยตนเองในช่วงปิดเทอมหรือวันหยุด จะมีการจัดทัศนศึกษาพานักศึกษาไปเที่ยวต่างจังหวัดตามสถานที่ที่นักศึกษาต้องการไปในแต่ละเทอม
 
* การเดินทาง
มหาวิทยาลัยมีบริการรถรับ-ส่งระหว่างอาคาร BBD กรุงเทพและวิทยาเขตลาดหลุมแก้วในวันจันทร์-ศุกร์ ในช่วงเช้า กลางวัน และเย็น
 
== ความร่วมมือ ==
เส้น 136 ⟶ 109:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.siu.ac.th/ มหาวิทยาลัยชินวัตร]
https://www.facebook.com/ShinawatraUniversity
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Shinawatra University}}