ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปแอฟริกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
สวัสดีครับ ผมชื่อไอเวิ้ล ผมโสดและหล่อมากครับ สนใจทัก Navi Sevenนะครับ รักนะ{{Infobox continent
{{Infobox continent
|title = แอฟริกา
|image = {{Switcher|[[ไฟล์:Africa (orthographic projection).svg|frameless]]|แสดงเส้นแบ่งประเทศ|[[ไฟล์:Africa (orthographic projection) blank.svg|frameless]]|ปิดเส้นแบ่งประเทศ|default=1}}
บรรทัด 51:
[[ไฟล์:Africa satellite orthographic.jpg|thumb|250px|แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา]]
[[ไฟล์:The Earth seen from Apollo 17.jpg|thumb|250px|ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก]]
 
'''แอฟริกา''' ({{lang-en|Africa}}) เป็น[[ทวีป]]ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก[[ทวีปเอเชีย]] ทั้งในแง่ของขนาดพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.3 ล้านตารางกิโลเมตร รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 6% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณ 20.4% ของพื้นดินทั้งหมด<ref name="Sayre">Sayre, April Pulley. (1999) ''Africa'', Twenty-First Century Books. ISBN 0-7613-1367-2.</ref> ใน ค.ศ. 2018 แอฟริกามีประชากรกว่า 1.3 พันล้านคน{{UN_Population|ref}} นับเป็น 16% ของ[[ประชากร]]โลก ประชากรในแอฟริกาเป็นกลุ่มประชากรที่มีอายุน้อยที่สุดในโลก<ref>{{cite web|title=5 ways the world will look dramatically different in 2100|url=https://www.washingtonpost.com/news/wonk/wp/2015/08/17/5-ways-the-world-will-look-dramatically-different-in-2100/|last=Swanson|first=Ana|date=17 August 2015|work=[[The Washington Post]]}}</ref><ref>{{cite news|last=[[Njideka Harry|Harry]]|first=Njideka U.|date=11 September 2013|title=African Youth, Innovation and the Changing Society|work=Huffington Post|url=http://www.huffingtonpost.com/njideka-u-harry/african-youth-innovation-_b_3904408.html}}</ref> ใน ค.ศ. 2012 [[มัธยฐาน|ค่ามัธยฐาน]]ของอายุประชากรอยู่ที่ 19.7 ปี ขณะที่ทั่วโลกอยู่ที่ 30.4 ปี<ref>{{cite web|title=item,4 of the provisional agenda&nbsp;– General debate on national experience in population matters: adolescents and youth|url=https://www.un.org/esa/population/cpd/cpd2012/Agenda%20item%204/UN%20system%20statements/ECA_Item4.pdf|author=Janneh, Abdoulie|date=April 2012|work=United Nations Economic Commission for Africa|access-date=15 December 2015}}</ref> แม้ว่าแอฟริกาจะมีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย แต่ว่ารายได้ประชากรต่อหัวของทวีปกลับต่ำที่สุดในโลก ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ อุปสรรคเชิงภูมิศาสตร์<ref name=":1">{{Cite journal|last1=Collier|first1=Paul|last2=Gunning|first2=Jan Willem|date=1999-08-01|title=Why Has Africa Grown Slowly?|url=https://pubs.aeaweb.org/doi/10.1257/jep.13.3.3|journal=Journal of Economic Perspectives|language=en|volume=13|issue=3|pages=3–22|doi=10.1257/jep.13.3.3|issn=0895-3309}}</ref> [[ลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา|ผลกระทบจากลัทธิล่าอาณานิคม]] [[สงครามเย็น]]<ref>{{Cite book|last=Fwatshak|first=S. U.|title=Contemporary Africa|publisher=Springer|year=2014|isbn=978-1-349-49413-2|pages=89–125|chapter=The Cold War and the Emergence of Economic Divergences: Africa and Asia Compared|doi=10.1057/9781137444134_5}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Austin|first=Gareth|date=2010-03-01|title=African Economic Development, and Colonial Legacies|url=http://journals.openedition.org/poldev/78|journal=International Development Policy {{!}} Revue internationale de politique de développement|language=en|issue=1|pages=11–32|doi=10.4000/poldev.78|issn=1663-9375|doi-access=free}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Dunning|first=Thad|date=2004|title=Conditioning the Effects of Aid: Cold War Politics, Donor Credibility, and Democracy in Africa|url=https://www.jstor.org/stable/3877863|journal=International Organization|volume=58|issue=2|pages=409–423|doi=10.1017/S0020818304582073|jstor=3877863|issn=0020-8183}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Alemazung|first=J.|date=2010|title=Post-Colonial Colonialism: An Analysis of International Factors and Actors Marring African Socio-Economic and Political Development|url=https://www.semanticscholar.org/paper/Post-Colonial-Colonialism%3A-An-Analysis-of-Factors-Alemazung/3c7b2be6a73e33f366c835ce06ff8a6dd6b2cbf3|access-date=2020-11-12|website=undefined|s2cid=140806396|language=en}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Bayeh|first=E.|date=2015|title=THE POLITICAL AND ECONOMIC LEGACY OF COLONIALISM IN THE POST-INDEPENDENCE AFRICAN STATES|url=https://www.semanticscholar.org/paper/THE-POLITICAL-AND-ECONOMIC-LEGACY-OF-COLONIALISM-IN-Bayeh/82148a1b7703edad0ca74394e236163eb17c82f5|access-date=2020-11-12|website=www.semanticscholar.org|s2cid=198939744|language=en}}</ref> ความไม่เป็นประชาธิปไตย และ นโยบายที่ผิดพลาด<ref name=":1" /> แม้ว่าความมั่งคั่งของทวีปจะต่ำ แต่การขยายตัวทางเศรษฐกิจพร้อมกับจำนวนประชากรอายุน้อยจำนวนมากในปัจจุบัน ทำให้แอฟริกาเป็นตลาดเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก
 
ทวีปแอฟริกาถูกล้อมรอบด้วย[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]ทางตอนเหนือ [[คลองสุเอซ]]และ[[ทะเลแดง]]บริเวณ[[คาบสมุทรไซนาย]]ทางตะวันออกเฉียงเหนือ [[มหาสมุทรอินเดีย]]ทางตะวันออก และ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]ทางตะวันตก [[เกาะมาดากัสการ์]]และเกาะเล็กรอบ ๆ ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของทวีป แอฟริกาประกอบด้วย 54 [[รัฐเอกราช]] 8 [[ดินแดน]] และ 2 [[รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์|รัฐที่ยังไม่ถูกยอมรับโดยสหประชาชาติ]][[โดยพฤตินัย]] [[แอลจีเรีย]]เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในทวีป ส่วน[[ไนจีเรีย]]เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศในทวีปแอฟริกาได้ร่วมมือกันจัดตั้ง[[สหภาพแอฟริกา]]ขึ้น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่[[อาดดิสอาบาบา]]
 
แอฟริกามี[[เส้นศูนย์สูตร]]ผ่านกลางทวีปและมีเขตภูมิอากาศมากมาย แอฟริกาเป็นทวีปเดียวเท่านั้นที่มีพื้นที่[[ภูมิอากาศแบบอบอุ่น]]อยู่ในทั้ง[[ซีกโลกเหนือ]] และ[[ซีกโลกใต้]]<ref>{{cite web|title=Africa. General info|url=http://www.visualgeography.com/continents/africa.html|publisher=Visual Geography|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20110424072430/http://www.visualgeography.com/continents/africa.html|archive-date=24 April 2011|access-date=24 November 2007}}</ref> พื้นที่และประเทศส่วนใหญ่ในทวีปจะตั้งอยู่ใน[[ซีกโลกเหนือ]] แต่ก็มีหลายประเทศอยู่ใน[[ซีกโลกใต้]]เช่นกัน แอฟริกามีความหลากหลายทางชีวภาพมาก สามารถพบจำนวนของ[[megafauna|สัตว์ขนาดใหญ่]]ได้มากที่สุด เพราะได้รับผลกระทบจาก[[Quaternary extinction|เหตุการ์ณสูญพันธ์ยุคควอเทอร์นารี]]น้อยที่สุด ถึงอย่างนั้นแอฟริกาประสบปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบอย่างหนักหลายอย่าง เช่น [[desertification|การขยายตัวของเขตทะเลทราย]] [[การทำลายป่า]] [[Water scarcity|การขาดแคลนน้ำ]]และปัญหาอื่น ๆ มีความกังวลว่าปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อ[[Climate change in Africa|การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในทวีปแอฟริกา]] จากการประเมินของ[[คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]]พบว่าแอฟริกาเป็นทวีปที่มี[[Climate change vulnerability|ความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ]]มากที่สุด<ref>{{cite book|author=Schneider, S.H.|url=http://www.ipcc.ch/publications_and_data/ar4/wg2/en/ch19s19-3-3.html|title=Chapter 19: Assessing Key Vulnerabilities and the Risk from Climate Change|publisher=Print version: CUP. This version: IPCC website|year=2007|isbn=978-0-521-88010-7|editor=Parry, M.L.|series=Climate change 2007: impacts, adaptation, and vulnerability: contribution of Working Group II to the fourth assessment report of the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)|location=Cambridge University Press (CUP): Cambridge, UK|contribution=19.3.3 Regional vulnerabilities|display-authors=etal|access-date=2011-09-15|display-editors=etal|archive-url=https://web.archive.org/web/20130312104158/http://www.ipcc.ch/publications_and_data/ar4/wg2/en/ch19s19-3-3.html|archive-date=2013-03-12|url-status=dead}}</ref><ref name=":10Africa">Niang, I., O.C. Ruppel, M.A. Abdrabo, A. Essel, C. Lennard, J. Padgham, and P. Urquhart, 2014: Africa. In: Climate Change 2014: Impacts, Adaptation, and Vulnerability. Part B: Regional Aspects. Contribution of Working Group II to the Fifth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change [Barros, V.R., C.B. Field, D.J. Dokken et al. (eds.)]. Cambridge University Press, Cambridge, United Kingdom and New York, NY, USA, pp. 1199–1265. https://www.ipcc.ch/site/assets/uploads/2018/02/WGIIAR5-Chap22_FINAL.pdf</ref>
 
มีการยอมรับเป็นวงกว้างว่าแอฟริกาโดยเฉพาะใน[[แอฟริกาตะวันออก]]เป็นถิ่นกำเนิดของ[[มนุษย์]]และ[[เคลด]][[วงศ์ลิงใหญ่]] นั้นหมายความว่าแอฟริกามี[[ประวัติศาสตร์แอฟริกา|ประวัติที่ซับซ้อนยาวนาน]] บรรพบุรุษและต้นกำเนิดของ[[วงศ์ลิงใหญ่]]ถือกำเนิดขึ้นราว 7 ล้านปีก่อน เช่น ''[[Sahelanthropus tchadensis|ซาเฮลแอนโทรปุสชาเดนซิส]]'', ''[[Australopithecus africanus|ออสตราโลพิเทคัสแอฟริกานัส]]'', ''[[Australopithecus afarensis|ออสตราโลพิเทคัสอะฟาเรนซิส]]'', ''[[Homo erectus|โฮโมอิเร็กตัส]]'', ''[[Homo habilis|โฮโมแฮบิลิส]]'' และ ''[[Homo ergaster|โฮโมเออร์แกสเตอร์]]''— โครงกระดูกที่เก่าแก่ที่สุดของ''[[มนุษย์|โฮโมซาเปียน]]'' (มนุษย์ยุคปัจจุบัน) พบใน[[เอธิโอเปีย]] [[แอฟริกาใต้]] และ [[โมร็อกโก]] โดยมีอายุประมาณ 200,000, 259,000 และ 300,000 ปีก่อนตามลำดับ จึงเชื่อได้ว่าโฮโมซาเปียนถือกำเนินในแอฟริการาว 350,000–260,000 ปีก่อน<ref>{{Cite web|url=http://web.utah.edu/unews/releases/05/feb/homosapiens.html|archive-url=https://web.archive.org/web/20071024234234/http://web.utah.edu/unews/releases/05/feb/homosapiens.html|url-status=dead|title=Homo sapiens: University of Utah News Release: 16 February 2005|archive-date=24 October 2007}}</ref><ref name="Schlebusch2017">{{cite journal |doi=10.1126/science.aao6266 |pmid=28971970 |title=Southern African ancient genomes estimate modern human divergence to 350,000 to 260,000 years ago |journal=Science |volume=358 |issue=6363 |pages=652–655 |year=2017 |last1=Schlebusch |first1=Carina M |last2=Malmström |first2=Helena |last3=Günther |first3=Torsten |last4=Sjödin |first4=Per |last5=Coutinho |first5=Alexandra |last6=Edlund |first6=Hanna |last7=Munters |first7=Arielle R |last8=Vicente |first8=Mário |last9=Steyn |first9=Maryna |last10=Soodyall |first10=Himla |last11=Lombard |first11=Marlize |last12=Jakobsson |first12=Mattias |bibcode=2017Sci...358..652S |doi-access=free }}</ref><ref name="Guardian">{{cite news|url=https://www.theguardian.com/science/2017/jun/07/oldest-homo-sapiens-bones-ever-found-shake-foundations-of-the-human-story|title=Oldest ''Homo sapiens'' bones ever found shake foundations of the human story|last=Sample|first=Ian|work=The Guardian|date=7 June 2017|access-date=7 June 2017}}</ref><ref name="NYT-20190910">{{cite news |last=Zimmer |first=Carl |author-link=Carl Zimmer |title=Scientists Find the Skull of Humanity's Ancestor — on a Computer – By comparing fossils and CT scans, researchers say they have reconstructed the skull of the last common forebear of modern humans. |url=https://www.nytimes.com/2019/09/10/science/human-ancestor-skull-computer.html |date=10 September 2019 |work=[[The New York Times]] |access-date=10 September 2019 }}</ref><ref name="NAT-20190910">{{cite journal |last1=Mounier |first1=Aurélien |last2=Lahr |first2=Marta |title=Deciphering African late middle Pleistocene hominin diversity and the origin of our species |journal=[[Nature Communications]] |volume=10 |issue=1 |page=3406 |doi=10.1038/s41467-019-11213-w |pmid=31506422 |pmc=6736881 |year=2019 |bibcode=2019NatCo..10.3406M }}</ref>
 
อารยธรรมของมนุษย์ในยุคแรก อย่าง [[อียิปต์โบราณ]] และ[[ฟินิเชีย]]ถือกำเนิดใน[[แอฟริกาเหนือ]] ประวัติศาสตร์อันยาวนานและซับซ้อนของอารยธรรม การค้า และการอพยพ ทำให้แอฟริกามีกลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรมและภาษาที่หลากหลาย ในช่วง 400 ปีที่ผ่านมาอิทธิพลจากยุโรปแพร่เข้ามาในแอฟริกาเป็นอย่างมาก โดยเริ่มตั้งแต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่การค้าและค้าทาสทำให้ชาวแอฟริกันพลัดถิ่นไปอยู่ทวีปอเมริกาเป็นจำนวนมาก ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประเทศในยุโรปเข้ามาล่าอาณานิคมเกือบครบทุกพื้นที่ในทวีปนี้ ชาวยุโรปเข้ามาตักตวงทรัพยากรและหาประโยชน์จากชุมชนในท้องที่ ปัจจุบัน[[ประเทศ]]ส่วนใหญ่ในแอฟริกาเกิดจากกระบวน[[การให้เอกราช]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
== ที่สุดในทวีปแอฟริกา ==