ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศออสเตรเลีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matttest (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 112.200.207.50 (talk) to last version by InternetArchiveBot
บรรทัด 142:
=== การตั้งถิ่นฐาน ===
[[ไฟล์:Arthur Streeton - Fireman's funeral, George Street - Google Art Project.jpg|thumb|ซิดนีย์ในปี 1894]]
 
การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้ เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1606 เป็นเรือของชาวดัตช์ โดยกัปตัน ''Willem Janszoon'' ทำแผนที่ชายฝั่งส่วนหนึ่งของออสเตรเลีย ระหว่าง ค.ศ. 1606 ถึง 1770 มีเรือของชาวยุโรปประมาณ 54 ลำจากหลายชาติเดินทางมาที่ออสเตรเลียซึ่งรู้จักในขณะนั้นว่านิวฮอลแลนด์<ref name="culture-portal">{{cite web |url=http://www.cultureandrecreation.gov.au/articles/australianhistory/ |title=European discovery and the colonisation of Australia |accessdate=2007-10-14 |work=Culture and Recreation Portal |archive-date=2011-02-16 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110216230554/http://www.cultureandrecreation.gov.au/articles/australianhistory/ |url-status=dead }} {{en icon}}</ref> ใน ค.ศ. 1770 เจมส์ คุก เดินทางมาสำรวจออสเตรเลียและทำแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของ[[สหราชอาณาจักร]] ให้ชื่อว่า[[รัฐนิวเซาท์เวลส์|นิวเซาท์เวลส์]] ต่อมาสหราชอาณาจักรใช้ออสเตรเลียเป็น[[ทัณฑนิคม]]<ref name="culture-portal"/> กองเรือชุดแรกเดินทางมาถึงออสเตรเลียที่อ่าวซิดนีย์ใน ค.ศ. 1787 ในวันที่ 26 มกราคม (ค.ศ. 1788) ซึ่งต่อมาเป็น[[วันออสเตรเลีย|วันชาติออสเตรเลีย]] ผู้ตั้งถิ่นฐานยุคแรกส่วนใหญ่เป็นนักโทษและครอบครัวของทหาร โดยมีผู้อพยพเสรีเริ่มเข้ามาใน ค.ศ. 1793 มีการตั้งถิ่นฐานบน[[เกาะแทสเมเนีย]] หรือชื่อในขณะนั้นคือฟานไดเมนส์แลนด์ ใน ค.ศ. 1803 และตั้งเป็นอาณานิคมแยกอีกแห่งหนึ่งใน ค.ศ. 1825 สหราชอาณาจักรประกาศสิทธิในฝั่งตะวันตกใน ค.ศ. 1829 และเริ่มมีการตั้งอาณานิคมแยกขึ้นมาอีกหลายแห่ง ได้แก่เซาท์ออสเตรเลีย วิกตอเรีย และควีนส์แลนด์ โดยแยกออกมาจากนิวเซาท์เวลส์ เซาท์ออสเตรเลียไม่เคยเป็นอาณานิคมนักโทษ<ref name="culture-portal"/> ในขณะที่วิกตอเรียและเวสเทิร์นออสเตรเลียยอมรับการขนส่งนักโทษภายหลัง<ref name="public-record-vic">{{cite web |url=http://www.access.prov.vic.gov.au/public/PROVguides/PROVguide057/PROVguide057.jsp |title=Convict Records |accessdate=2007-10-18 |publisher=Public Record office of Victoria |archive-date=2005-12-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20051225154618/http://www.access.prov.vic.gov.au/public/PROVguides/PROVguide057/PROVguide057.jsp |url-status=dead }} {{en icon}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.sro.wa.gov.au/collection/convict.asp |title=State Records Office of Western Australia |accessdate=2007-10-18 |archive-date=2007-03-15 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070315143840/http://www.sro.wa.gov.au/collection/convict.asp |url-status=dead }} {{en icon}}</ref> เรือนักโทษลำสุดท้ายมาถึงนิวเซาท์เวลส์ใน 1848 หลังจากการรณรงค์ยกเลิกโดยกลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐาน<ref> {{cite web |url=http://www.abs.gov.au/Ausstats/abs%40.nsf/0/A890E87A9AB97424CA2569DE0025C18B?Open |title=Australian Bureau of Statistics 1998 Special Article |accessdate=2007-10-18 |publisher=The State of New South Wales}} {{en icon}}</ref> การขนส่งนักโทษยุติอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2396 ในนิวเซาท์เวลส์และแทสเมเนีย และ ค.ศ. 1868 ในเวสเทิร์นออสเตรเลีย<ref name="public-record-vic"/>
 
ใน ค.ศ. 1851 [[เอดเวิร์ด ฮาร์กรีฟส์]] ค้นพบสายแร่ทอง ในที่ ๆ เขาตั้งชื่อว่า[[โอฟีร์]] (Ophir) ในนิวเซาท์เวลส์ ทำให้เกิด[[ยุคตื่นทอง]] นำคนจำนวนมากเดินทางมาออสเตรเลีย<ref name="gold-rush"> {{cite web |url=http://www.cultureandrecreation.gov.au/articles/goldrush/ |title=The Australian Gold Rush |accessdate=2007-10-17 |work=Culture and Recreation Portal}} {{en icon}}</ref> ใน ค.ศ. 1901 หกอาณานิคมในออสเตรเลียรวมตัวกันเป็น[[สหพันธรัฐ]] ในชื่อ''เครือรัฐออสเตรเลีย'' (Commonwealth of Australia) ประกอบด้วย[[รัฐนิวเซาท์เวลส์]] [[รัฐวิกตอเรีย]] [[รัฐควีนส์แลนด์]] [[รัฐเซาท์ออสเตรเลีย]] [[รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย]] และ[[รัฐแทสเมเนีย]] รวมหกรัฐเข้าอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญหนึ่งเดียว เฟเดอรัลแคพิทัลเทร์ริทอรีก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1911 เป็นเมืองหลวงของสหพันธรัฐ จากส่วนหนึ่งของรัฐนิวเซาท์เวลส์ บริเวณแยส-แคนเบอร์รา และเริ่มดำเนินงานรัฐสภาใน[[แคนเบอร์รา]]ใน ค.ศ. 1927<ref>{{cite web |url=http://www.canberrahistory.org.au/discover.asp |title=Chronology of the ACT |accessdate=2007-10-16 |publisher=Canberra & District Historical Society |archive-date=2013-09-12 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130912075512/http://www.canberrahistory.org.au/discover.asp |url-status=dead }} {{en icon}}</ref> ใน ค.ศ. 1911 [[นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี]] แยกตัวออกมาจากเซาท์ออสเตรเลีย และเข้าเป็นดินแดนในกำกับของสหพันธ์ ออสเตรเลียสมัครใจเข้าร่วม[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] โดยมีอาสาสมัครเข้าร่วมถึง 60,000 คนจากประชากรชายน้อยกว่าสามล้านคน<ref name="ancient-heritage"/>
 
=== การปกครองตนเอง ===
เส้น 152 ⟶ 148:
ออสเตรเลียประกาศใช้[[บทกฎหมายเวสต์มินสเตอร์ ค.ศ. 1931]] ใน ค.ศ. 1942 โดยมีผลบังคับใช้ย้อนไปตั้งแต่ [[3 กันยายน]] [[ค.ศ. 1939]]<ref> {{cite web |url=http://www.servat.unibe.ch/law/icl/as04000_.html |title=Australia - Statute of Westminster Adoption Act 1942 |accessdate=2007-10-18}} {{en icon}}</ref> ซึ่งเป็นการยุติบทบาทนิติบัญญัติของสหราชอาณาจักรในออสเตรเลียเกือบทั้งหมด ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ออสเตรเลียประกาศสงครามกับ[[นาซีเยอรมนี|เยอรมนี]]พร้อมกับสหราชอาณาจักรและ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] หลังจากเยอรมนีบุก[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]<ref name="WWII-1"> {{cite web |url=http://www.anzacday.org.au/history/ww2/overview/ww2-01.html |title=1939 - ‘Australia is at war ...’ |accessdate=2007-10-17 |publisher=ANZAC Day Commemoration Committee}} {{en icon}}</ref> ออสเตรเลียส่งทหารเข้าร่วมสมรภูมิใน[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]] [[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน|เมดิเตอร์เรเนียน]] และ[[แอฟริกาเหนือ]] แผ่นดินออสเตรเลียโดนโจมตีโดยตรงครั้งแรกจากการเข้าตีโฉบฉวยทางอากาศของ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ที่[[ดาร์วิน (เมือง)|ดาร์วิน]]<ref name="WWII-2"> {{cite web |url=http://www.awm.gov.au/atwar/ww2.htm |title=Second World War 1939–45 |accessdate=2007-10-17 |publisher=Australian War Memorial}} {{en icon}}</ref> ออสเตรเลียยุตินโยบายออสเตรเลียขาว โดยดำเนินการขั้นสุดท้ายในปี[[ค.ศ. 1973]]<ref "white-aus-abolition"> {{cite web |url=http://www.immi.gov.au/media/fact-sheets/08abolition.htm |title=Abolition of the 'White Australia' Policy |accessdate=2007-10-17 |publisher=Australian Department of Immigration}} {{en icon}}</ref> [[พระราชบัญญัติออสเตรเลีย ค.ศ. 1986]] (พ.ศ. 2529) ยกเลิกบทบาทของสหราชอาณาจักรในอำนาจนิติบัญญัติและตุลาการของออสเตรเลียโดยสิ้นเชิง ใน ค.ศ. 1999 ออสเตรเลียจัดการลง[[ประชามติ]] ว่าจะให้ประเทศเป็น[[สาธารณรัฐ]] มีประธานาธิบดีแต่งตั้งจากรัฐสภาหรือไม่ ซึ่งคะแนนเสียงเกือบ 55% ลงคะแนนปฏิเสธ<ref> {{cite web |url=http://www.aec.gov.au/Elections/referendums/1999_Referendum_Reports_Statistics/index.htm |title= 1999 Referendum Report and Statistic |accessdate=2007-10-17 |publisher=Australian Electoral Commission}} {{en icon}}</ref>
 
== การเมืองการปกครอง ==
{{Multiple image
| caption_align = center
| total_width = 340
 
| image1 = Queen Elizabeth II in March 2015.jpg
| caption1 = [[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร]], สมเด็จพระราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักร
และเครือจักรภพ
 
| image2 = David Hurley official photo (cropped, high resolution).jpg
| caption2 = เดวิด เฮอร์ลีย์, ผู้สำเร็จราชการประเทศออสเตรเลีย
 
| image3 = Scott Morrison 2014 crop.jpg
| caption3 = [[สกอตต์ มอร์ริซัน ]], นายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย
}}
 
ออสเตรเลียมีการปกครองในระบอบ[[ประชาธิปไตย]]แบบ[[รัฐสภา]] มีรูปแบบรัฐบาลเป็น[[สหพันธรัฐ]] และระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] [[ประมุขแห่งรัฐ]]ของออสเตรเลียคือ[[พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร]] ซึ่งพระองค์ปัจจุบันคือ[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2]] พระอิสริยยศในออสเตรเลียคือ Elizabeth the Second, by the Grace of God Queen of Australia and Her other Realms and Territories, Head of the Commonwealth<ref> {{cite web |url=http://www.royal.gov.uk/output/Page4908.asp |title=Queen and Commonwealth |accessdate=2007-10-17}} {{en icon}}</ref>