ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอเชียใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||บริเวณเดียวกัน|อนุทวีปอินเดีย}}
 
[[ไฟล์:South Asia (orthographic projection).svg|thumb|300px|แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่[[สหประชาชาติ]]หมายถึงเอเชียใต้]]
'''เอเชียใต้'''เป็นภูมิภาคของ[[ทวีปเอเชีย]] และเป็นที่ตั้งของ[[ประเทศอินเดีย]] [[ประเทศปากีสถาน|ปากีสถาน]] [[ประเทศบังกลาเทศ|บังกลาเทศ]] [[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]] [[ประเทศเนปาล|เนปาล]] [[ประเทศภูฏาน|ภูฏาน]] และ[[ประเทศมัลดีฟส์|มัลดีฟส์]] มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า '''[[อนุทวีปอินเดีย]]''' ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของ[[ประเทศอัฟกานิสถาน]] ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย
 
อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
* รัฐในเขตเทือกเขา[[หิมาลัย]] ได้แก่ ภาคเหนือของ[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]], [[ประเทศเนปาล|เนปาล]], [[ประเทศภูฏาน|ภูฏาน]], [[ประเทศบังกลาเทศ|บังกลาเทศ]]
* ประเทศหมู่เกาะใน[[มหาสมุทรอินเดีย]] ได้แก่ [[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]]และ[[ประเทศมัลดีฟส์|มัลดีฟส์]]
* ภาคใต้ของ[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]]และ[[ประเทศปากีสถาน]]
เอเชียใต้เป็นภูมิภาคที่มีประชากรอยู่อาศัยหนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก มีจำนวนประชากรกว่า 1 พันล้านคนอาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ ซึ่งคิดเปรียบเทียบเป็นสัดส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของชาวเอเชียทั้งหมด หรือ 1 ใน 5 ของประชากรโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 305 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 7 เท่า
 
ภูมิภาคเอเชียใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน อารยธรรมโบราณได้พัฒนาขึ้นใน[[ที่ราบลุ่มแม่น้ำ|พื้นที่ลุ่ม]][[แม่น้ำสินธุ]] ช่วงเวลาแห่งความรุ่งเรืองสูงสุดของภูมิภาคคือ ช่วงก่อนหน้าศตวรรษที่ 17 เมื่อ[[ราชวงศ์โมกุล]] ขยายพระราชอาณาจักรขึ้นสู่ภาคเหนือของอนุทวีป การล่าอาณานิคมของชาติยุโรปได้นำไปสู่การเข้ายึดครองของผู้รุกรานใหม่นำโดย[[ประเทศโปรตุเกส|โปรตุเกส]] [[ประเทศฮอลแลนด์|ฮอลแลนด์]] และท้ายสุดคือ [[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] [[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] ก็เป็นอีกชาติหนึ่งที่ได้รุกเข้าครอบครองดินแดนบางส่วนของเอเชียใต้ไว้ภายใต้การปกครองของตนด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ประเทศทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียใต้ได้รับเอกราชจากชาติ[[ยุโรป]]ในช่วงปลายทศวรรษ 1940
 
แนวความคิดของ "เอเชียใต้" มีประโยชน์ในการช่วยให้การอ้างอิงถึงประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ในลักษณะของการรวมเป็นกลุ่มแห่งภูมิภาคได้ พร้อมกันนั้น คำว่า "[[อนุทวีปอินเดีย|อนุทวีป]]" ก็เป็นคำที่มีประโยชน์เช่นกันเมื่อใช้ในการอภิปรายประเด็นต่าง ๆ ที่สะท้อนถึงการมีประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หรืออื่น ๆ ร่วมกันหรือมีรากเหง้าเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ประชาชนของประเทศต่าง ๆ ในเอเชียใต้นอกเหนือจากประเทศอินเดีย บางครั้งไม่พอใจที่ถูกเรียกหรือกล่าวถึงว่า "[[อินเดีย]]" หรือ "[[ชาวอินเดีย]]" และบางครั้งก็ไม่พอใจแม้ว่าจะเป็นการพูดถึง[[ประวัติศาสตร์]] [[วัฒนธรรม]] หรือรากเหง้าในอดีตก็ตาม แต่ว่าคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้โดยมีจุดมุ่งหมายกล่าวถึงอินเดียและชาติเพื่อนบ้านใกล้เคียงในสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเช่นวลีที่ว่า "Greater India" นั้นก็ยิ่งเป็นที่น่ารังเกียจมากยิ่งกว่าเสียอีก
 
เอเชียใต้ บางครั้งหมายถึง เอเชียทั้งหมดที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ[[สหภาพโซเวียต]] ซึ่งถือว่าเป็นเอเชียเหนือ
 
==ประเทศและดินแดน==
===ประเทศ===
{| class="wikitable sortable"