ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดไชยวัฒนาราม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
หีหีีหีหีหีหีหีหหีหีหคหีหีีหคหคหีหีหคหหีหีีหีหีหีหีห
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
วัดไชยวัฒนารามเป็นวัดสร้างขึ้นในสมัย[[พระเจ้าปราสาททอง]] พ.ศ. 2173<ref>{{Cite web |url=http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/358/116/ |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2015-04-25 |archive-date=2016-11-16 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161116230837/http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/358/116/ |url-status=dead }}</ref>โดยเดิมบริเวณที่ตั้งของวัดแห่งนี้เคยเป็นที่อยู่ของพระราชมารดาที่ได้สิ้นพระชนม์ไปก่อนที่พระเจ้าปราสาททองได้เสวยราชสมบัติเป็นกษัตริย์ เมื่อพระองค์ได้เสวยราชสมบัติ พระองค์จึงได้สร้างวัดไชยวัฒนารามขึ้นเพื่ออุทิศผลบุญนี้ให้กับพระราชมารดาของพระองค์ และอีกประการหนึ่งวัดนี้อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือ[[เขมร]]ด้วย จึงทำให้มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมส่วนหนึ่งมาจากปราสาท[[นครวัด]]<ref>{{Cite web |url=http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/358/116/ |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2015-04-25 |archive-date=2016-11-16 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161116230837/http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/358/116/ |url-status=dead }}</ref>
 
== ประวัติยย ==
ยส
วัดไชยวัฒนาราม ได้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2173 โดย[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]] พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นบนที่ที่เป็นบ้านเดิมของพระองค์เพื่ออุทิศพระราชกุศลถวายพระราชมารดา แต่ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ทรงสันนิษฐานว่าวัดนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือนครละแวกโดยจำลองแบบมาจากปราสาท[[นครวัด]]
 
ยาสย
วัดไชยวัฒนารามเป็นวัดหลวงที่บำเพ็ญพระราชกุศลของพระมหากษัตริย์สืบต่อมาหลังจากนั้นทุกพระองค์ จึงได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชสมัย เป็นสถานที่ถวายพระเพลิงศพพระบรมวงศานุวงศ์เกือบทุกพระองค์ [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]สิ้นพระชนม์ก็ได้ถวายพระเพลิงที่วัดนี้
 
นจาจยพจสยสสสส
ก่อนกรุงแตก พ.ศ. 2310 วัดไชยวัฒนารามถูกแปลงเป็นค่ายตั้งรับศึก หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] วัดไชยวัฒนารามได้ถูกปล่อยทิ้งให้ร้างเรื่อยมา บางครั้งมีผู้ร้ายเข้าไปลักลอบขุดหาสมบัติ เศียรพระพุทธรูปถูกตัดขโมย มีการรื้ออิฐที่พระอุโบสถ และกำแพงวัดไปขาย แต่ในปี พ.ศ. 2530 [[กรมศิลปากร]]จึงได้เข้ามาอนุรักษ์จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535
 
== สถาปัตยกรรม ==