ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัศวิน ขวัญเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพียงเพิ่มข้อมูลบางส่วน ไม่ได้แก้ไขบทความของเดิมที่มีอยู่
เพียงเพิ่มเติมบทบาทหน้าที่ ที่ได้ทำระหว่างการดำรงตำแหน่งในขณะนี้เท่านั้น ไม่มีการแก้ไขเนื้อหาเดิมที่มีอยู่
บรรทัด 31:
ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่ออัศวินดำรงยศ [[พลตำรวจโท]] (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.[[สุชาติ เหมือนแก้ว]] รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับ[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551|การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้<ref>[http://www.naewna.com/news.asp?ID=120558{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} เด้ง"อัศวิน"พ้นนครบาล ปมปราบพธม.ล้มเหลว ส่งเพื่อน"แม้ว"คุมม็อบ จาก[[แนวหน้า]]]</ref>
 
ต่อมาใน[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 ของไทย|รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นาย[[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษา สบ.10 ในยศ[[พลตำรวจเอก]] (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทาง[[คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ]] (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือน[[ตุลาคม]] ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ<ref>[http://thaiinsider.info/2009news/the-news/politics/8004--10- เด็กสุเทพ'ไปไม่ถึงฝัน ส่อ'หลุด'เก้าอี้'ผบ.ตร.' 'อัศวิน'ปิ๋วพลาด'รอง ผบ.ตร.' 'ก.ตร.'เบรกไม่อนุมัติ!! ]</ref><ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20101012/76104/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AF48%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A5.%E0%B8%95.%E0%B8%AD..html โปรดเกล้าฯ48นายพลพงศพัศ-อัศวินพล.ต.อ. จาก[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]]</ref>และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000150899 ปลด “ศรีวราห์” พ้น รรท.ผบช.ภ.1 ตั้ง “อัศวิน” เสียบแทน จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ซึ่งในปลายปีเดียวกัน ยังได้รับ[[ฉายา]]จาก[[สื่อมวลชน]]ว่า "อัศวินปิดจ๊อบ" เนื่องจากมีผลการทำงานที่ดุดัน รวดเร็ว<ref>[http://www.innnews.co.th/politic.php?nid=260186 สื่อให้ฉายาอัศวินปิดจ๊อบวิสุทธิ์คู่เดือด]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และ "มือปราบไผ่เขียว"<ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110102171325/http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html |date=2011-01-02 }} ตั้งฉายา'มือปราบไผ่เขียว'ให้'อัศวิน' จาก[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]]</ref>และยังได้รับผลโหวตจากการสำรวจความคิดเห็นจาก[[เอแบคโพล]]ด้วยว่า เป็นนายตำรวจที่เป็นตำรวจมือปราบ ที่ประชาชนรู้สึกชื่นชอบและบรรเทาเหตุอาชญากรรมได้มากที่สุด <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000180471&#Comment โพลสำรวจ “อัศวิน ปิดจ็อบ” ครองใจ ปชช.ปราบโจร!]</ref>
 
ภายหลังอัศวินเกษียณอายุราชการ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ([[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]] เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) ดูแลงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเทศกิจ<ref>''ทีมผู้บริหาร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร'', หน้า 16 กทม.-จราจร. [[เดลินิวส์]] ฉบับที่ 23,183: วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2556 แรม 8 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง</ref>จนมาถึงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจากการได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติในปัจจุบัน นับได้ว่าเขาเป็นนายตำรวจไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ ในปี พ.ศ. 2553 ได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ<ref>[https://www.thaihealth.or.th/Content/22112-%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%20354%20%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4.html เกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ]</ref><ref>https://www.sanook.com/men/15597/</ref>
บรรทัด 67:
ในปี 2561 ก็ได้ประกาศสานต่อนโยบาย NOW ทำจริง เห็นผลจริง '''ผลงานเปลี่ยนกรุงเทพฯ ด้วยนโยบาย  “ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที” และ “NOW ทำจริง เห็นผลจริง”''' ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปัจจุบัน (ปี 2564) ที่ทำให้กรุงเทพฯ เปลี่ยนไปแล้วอย่างชัดเจน  ดังนี้
 
'''“คลอง” เปลี่ยนไปแล้ว'''  ภาพรวมดีขึ้น  อย่างเช่น คลองโอ่งอ่าง<ref>{{Cite web|date=2021-04-02|title=คลองโอ่งอ่างคว้ารางวัลต้นแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตเมืองของเอเชีย|url=https://www.pmdu.go.th/ong-ang-canal-win-landscape-improvement/|website=PMDU|language=th}}</ref> (ได้รับรางวัล 2020 Asian Townscape Awards จาก UN-Habitat Fukuoka) คลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) <ref>{{Cite web|date=2021-01-15|title=คืบหน้าปรับปรุง “คูเมืองเดิม” เพื่อเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/32399/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref>คลองผดุงกรุงเกษม<ref>{{Cite web|last=30|date=2021-02-09|title=กทม.เดินหน้าพลิกฟื้นคืนชีวิตให้‘คลองผดุงกรุงเกษม’ ให้เป็นเส้นทางเดินเรือสีเขียวเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สายแรกของไทย|url=https://www.khaosod.co.th/pr-news/news_5915311|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> คลองลาดพร้าว <ref>{{Cite web|date=2020-11-16|title=ลุยเดินหน้าปรับภูมิทัศน์คลองลาดพร้าว-คลองเปรมฯ|url=https://www.naewna.com/local/531984|website=https://www.naewna.com|language=th}}</ref> คลองยายสุ่น<ref>{{Cite web|date=2020-03-13|title=คลองยายสุ่น คลองต้นแบบแผนแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย และปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เป็นที่ปลอดภัย|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/17041/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref> ที่เปลี่ยนจากคลองน้ำเสียและคลองระบายน้ำ ฟื้นคืนชีวิตคลอง<ref>{{Cite web|last=Thailandplus|title=กทม.เร่งพัฒนาปรับภูมิทัศน์พลิกฟื้นชีวิตประชาชนริมคลอง|url=https://www.thailandplus.tv/%e0%b8%81%e0%b8%97%e0%b8%a1-%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%92%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9a%e0%b8%a0%e0%b8%b9%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%b1|language=th}}</ref> ให้คนอยู่กับคลองได้เหมือนในอดีต เชื่อมย่าน เชื่อมคน เชื่อมการเดินทาง ให้คนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันได้มากขึ้น โดยพัฒนาคลองให้เป็นพื้นที่สาธารณะ<ref>http://cmc.bangkok.go.th/bmaitev/web/uploads/75.pdf</ref> ที่ทุกๆ คน ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจในเมือง ใช้เดินเล่น ออกกำลังกาย นั่งเล่นริมน้ำ นัดพบปะพูดคุยกันได้ด้วย โดยคลองกำลังพัฒนาอีกคือ คลองช่องนนทรี<ref>{{Cite web|date=2020-11-12|title=ส่องโครงการสวนสาธารณะคลองช่องนนทรี ต้นแบบการพลิกฟื้นระบบนิเวศคลองแห่งแรกของไทย|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/30873/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref> ที่จะเปลี่ยนจากคลองระบายน้ำ เป็นคลองสวนสาธารณะที่ยาวที่สุด มีระบบบำบัดน้ำเสีย แยกน้ำดีออกจากน้ำเสีย นำน้ำที่บำบัดไปใช้ที่สวนลุมพินี เพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองด้วยต้นไม้ใหญ่ และเพิ่มพื้นที่ริมคลองให้คนเมืองได้ใช้เป็นที่พักผ่อนออกกำลังกาย  นอกจากนี้ ยังมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาคลองต่ออีก<ref>{{Cite web|title=ชวนคนกรุงร่วม “หันหน้าเข้าคลอง”|url=https://www.m2fnews.com/news/bkknews/column/assavinbkk/69523|website=https://www.m2fnews.com}}</ref>ทั้ง 50 เขต
 
'''“การคมนาคม”''' เชื่อมโครงข่ายคมนาคม ล้อ ราง เรือ <ref>{{Cite web|last=Srisaard|first=Muanchan|date=2020-07-17|title=กทม. เร่งพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ล้อ ราง เรือ ยกระดับกรุงเทพฯ สู่มหานครสะดวกสบาย|url=https://www.aroundonline.com/bangkok-news-9/|website=aroundonline|language=en-US}}</ref>เชื่อมต่อการเดินทางจากปริมณฑลเข้ามายังกรุงเทพ และเชื่อมต่อการเดินทางในกรุงเทพ ทั้งการขนส่งสาธารณะและเส้นทางคมนาคมที่สะดวกมากขึ้น ด้วยการพัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย (สายสีเขียวและสีทอง) 30 สถานี เส้นทางเดินเรือโดยสารสาธารณะ 2 เส้นทาง ที่คลองผดุงกรุงเกษม และคลองภาษีเจริญ โครงข่ายถนนสายหลักตามแนวฝั่งตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า) และศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์และป้ายรถเมล์อัจฉริยะ (Smart Bus Shelter)
 
-    พัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย สายสีเขียวและสายสีทอง <ref>{{Cite web|date=2020-12-16|title=ดีเดย์...เปิดให้บริการเดินรถไฟฟ้า 2 สาย เชื่อมต่อทุกโหมดการเดินทาง “ล้อ ราง เรือ”|url=https://mgronline.com/qol/detail/9630000128467|website=mgronline.com|language=th}}</ref> เพิ่มความสะดวกในการเดินทางจากปริมณฑลเข้ามาในกรุงเทพ และเส้นทางฝั่งธนบุรี โดยการเดินรถไฟฟ้าสายสีเขียวที่ใช้เดินทางทั้งจากจังหวัดสมุทรปราการและปทุมธานีเข้ามาในกรุงเทพได้สะดวกมากขึ้นหรือจะเดินทางข้ามเมืองไปมาได้สะดวกมากขึ้นเช่นกัน  รถไฟฟ้าสายสีเขียว รวมระยะทาง 2 ช่วง 25 กม. 27 สถานี ช่วงที่ 1 เดินทางจากจังหวัดสมุทรปราการ (สถานีเคหะสมุทรปราการ) ถึงสถานีแบริ่ง และช่วงที่ 2 ใช้เดินทางจากจังหวัดปทุมธานี (สถานีคูคต) ถึงหมอชิต (สถานีห้าแยกลาดพร้าว) และยังพัฒนาเส้นทางรถไฟฟ้าสายทอง ระยะทาง 2.8 กม. 3 สถานี ที่เชื่อมรถไฟฟ้าสายสีเขียว สายสีแดง และในอนาคตจะเชื่อมโยงสีม่วง ลดปัญหาการจราจรในเส้นทางถนนเจริญนครและถนนกรุงธนบุรี
 
-    พัฒนาเส้นทางเดินเรือโดยสารในคลอง 2 เส้นทาง เส้นทางที่ 1 ที่ผดุงกรุงเกษม  โดยนำเรือโดยสารไฟฟ้า 12 ลำ มาให้บริการประชาชนใช้เดินทางจากสถานีหัวลำโพงถึงตลาดเทวราช รวมระยะทาง 5 กม. 11 ท่า สามารถเชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT และรถไฟชานเมือง ที่สถานีหัวลำโพง เชื่อมต่อเรือแสนแสบที่ท่าเรือกระทรวงพลังงาน และเชื่อมต่อเรือด่วนเจ้าพระยาที่ท่าเรือตลาดเทวราช และเส้นทางที่ 2 ที่คลองภาษีเจริญ  รวมระยะทาง 11.5 กม. 15 ท่า ให้บริการเรือดีเซล 10 ลำ และพัฒนาเส้นทางเดินเรือต่อที่คลองแสนแสบ[5]<ref>{{Cite web|date=2018-11-22|title=ขยายเดินเรือคลองแสนแสบถึงตลาดมีนบุรี ช่วยเลี่ยงสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม จ่อเปิด 2 กม.แรก ม.ค.นี้|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000116779|website=mgronline.com|language=th}}</ref> จากท่าเรือวัดศรีบุญเรืองถึงท่าเรือสำนักงานเขตมีนบุรี โดยเดินเรือไฟฟ้า 12 ลำ และมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาที่คลองแสนแสบส่วนต่อขยายสถานีวัดศรีบุญเรืองถึงมีนบุรี
 
-    พัฒนาป้ายรถโดยสารประจำทางเดิม ให้เป็นศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์ (Smart Bus Shelter) และป้ายรถเมล์อัจฉริยะที่สะดวก มีข้อมูลสายรถเมล์ที่ผ่าน เส้นทางเดินรถ จุดหมายที่รถเมล์ผ่าน  ติดตั้งแล้ว 500 ป้าย ในพื้นที่เขตจตุจักร  พญาไท ราชเทวี บางรัก ปทุมวัน ดินแดง ห้วยขวาง วัฒนา คลองเตย และสาทร และปรับปรุงศาลาที่พักรอรถโดยสารประจำทางใหม่อีก 350 หลัง มีไฟฟ้าส่องสว่าง มีกล้อง CCTV มีที่ชาร์ทแบตเตอรี่โทรศัพท์ ทำให้ประชาชนสะดวกปลอดภัยระหว่างรอรถโดยสารประจำทาง และพัฒนาปรับปรุงต่อให้ครบทุกศาลาที่พักรอรถโดยสารประจำทั่งกรุงเทพฯ 
 
'''“ถนน” '''มีการก่อสร้างโครงข่ายถนนสายหลักตามแนวตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า)  ตั้งแต่ทางต่างระดับถนนศรีนครินทร์-กรุงเทพกรีฑา ถึง
 
ถนนเจ้าคุณทหาร ช่วยแก้ไขปัญหารถติดฝั่งกรุงเทพตะวันออกให้รองรับรถได้ถึง 200,000 คันต่อวัน และยังคงก่อสร้างปรับปรุงถนนอีก 8 เส้นทาง เช่น ทางหลวงท้องถิ่นระหว่างถนนวิภาวดีรังสิตกับถนนพหลโยธิน<ref>{{Cite web|date=2021-05-30|title=โครงการทางหลวงท้องถิ่น “พหลโยธิน-วิภาวดีรังสิต” ไปสนามบินดอนเมืองสะดวกขึ้น|url=https://mgronline.com/columnist/detail/9640000051378|website=mgronline.com|language=th}}</ref> และถนนรามคำแหง 24 - ถนนหัวหมาก เพื่อเดินหน้าพัฒนาเส้นทางคมนาคมแก้ไขรถติดในพื้นที่ที่ผู้ใช้สัญจรจำนวนมาก และก่อสร้าง '''“ทางเชื่อม”''' จากพื้นที่ปิดล้อมเส้นทางจำกัดไม่สอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองที่บริเวณศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติกับถนนกำแพงเพชร 6 ทางเชื่อมศูนย์ราชการกับถนนประชาชื่น 10 ทางเชื่อมถนนกาญจนาภิเษกกับพุทธมณฑลสาย 2 ทางเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2 กับถนนพุทธมณฑลสาย 3[5]<ref>{{Cite web|last=SUB_BUA|date=2021-05-07|title=บูมฝั่งธนฯ รับเปิดถนน “วงแหวนฯ-สาย 2” ทุ่ม 3 พันล้านขยายโครงข่ายใหม่ถึงนครปฐม|url=https://www.prachachat.net/property/news-661058|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และยังแก้ไขปัญหารถติดบริเวณจุดตัดทางแยก ด้วยการก่อสร้าง '''“สะพาน-ทางลอด”''' เปลี่ยน “แยกรถติด” ให้เป็นสะพานหรือทางลอด 3 แยกแล้ว และกำลังปรับปรุงอีก 6 แยก เพื่อแก้ไขปัญหารถติดบริเวณจุดตัดทางแยกที่แยกมไหศวรรย์ แยกไฟฉาย และแยกถนนพัฒนาการ-รามคำแหง-ถาวรธวัช
 
'''“สายสื่อสาร”''' มีการนำสายสื่อสารลงดินในหลายถนน เช่นที่ ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย ถนนนานาเหนือ (ถ.สขุมวิท-คลองแสนแสบ) ถนนพิษณุโลก (แยกพาณิชยการพระนคร-แยกยมราช) ถนนชิดลม (ถนนสาทร-ถนนเจริญราษฎร์) ถนนราชปรารภ (ถนนศรีอยุธยา-แยกประตูน้ำ) ถนนศรีอยุธยา (ถนนพญาไท-ถนนราชปรารภ) ถนนพระราม (ถนนพญาไท-สะพานกษัตริย์) และเดินหน้าสำรวจถนนนำสายสื่อสารลงดินเพิ่ม เพื่อจัดระเบียบเมืองและเพื่อความปลอดภัย
 
'''“ระบบการระบายน้ำ”''' แก้ไขปัญหาน้ำท่วมใน กทม. โดยใช้วิศวกรรมเชิงโครงสร้าง มาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้ดีมากขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่  เพิ่มเส้นทางการระบายน้ำที่เหมือนมีแม่น้ำอยู่ใต้ดินและช่วยเพิ่มความเร็วในการระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้มากขึ้น มีการก่อสร้างท่อเร่งระบายน้ำ (Pipe Jacking) ที่ช่วยเพิ่มท่อการระบายน้ำขนาดใหญ่ที่มีความสามารถในการเร่งระบายน้ำได้มากขึ้น และยังก่อสร้างพื้นที่รองรับน้ำเพิ่มในพื้นที่ กทม. เพื่อช่วยให้น้ำไม่ท่วมขังในพื้นที่เป็นเวลานาน โดยจัดทำ “แก้มลิง” ทั้งบนดิน และใต้ดินที่เรียกว่า “ธนาคารน้ำใต้ดิน” (Water Bank) เป็นที่กักเก็บน้ำขนาดใหญ่ใต้ดิน ที่ช่วยเร่งระบายน้ำที่ท่วมขังได้เร็วขึ้น และยังมีการสร้างและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บ่อสูบน้ำ และเพิ่ม
 
เครื่องสูบน้ำในจุดต่าง ๆ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ให้ดีมากขึ้น โดยก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่แล้ว 1 แห่งที่คลองบางซื่อ กำลังก่อสร้างอีก 4 แห่ง  Pipe Jacking มีแล้ว 9 แห่ง เช่น สุขุมวิท 63 (เอกมัย)  แยกเกษตรศาสตร์  ถนนสุวินทวงศ์ ถนนศรีอยุธยา ถนนพระราม 6 กำลังก่อสร้างอีก 3  แห่ง  และแก้มลิง 34 แห่ง เช่น ธนาคารใต้ดินบริเวณวงเวียนบางเขน ธนาคารน้ำใต้ดินปากซอยสุทธิพร และ แก้มลิงหมู่บ้านสัมมากร  บึงร.1 พัน 2 รอ. บึงน้ำประชานิเวศน์ บึงรางเข้ บึงเสือดำ และมีแผนเดินหน้าพัฒนาแก้ไขปัญหาน้ำท่วมทั้งระบบแบบยั่งยืน
 
'''“พื้นที่สีเขียว”''' เพิ่มพื้นที่สีเขียวจาก 6 ตร.ม.ต่อคน เพิ่มได้ในปี 2564 เป็น 7.30 ตร.ม.ต่อคน และ มีแผนเดินหน้าเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ได้ 9 ตร.ม.ต่อคน ตามมาตรฐาน WHO โดยสร้างสวนสาธารณะเพิ่ม 8 สวนให้เป็นที่พักผ่อนของคนกรุงเทพฯ เช่น สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบางบอน 100 ไร่ สวนสิริภิรมย์ 78.2 ไร่ สวนบางแคภิรมย์ 70 ไร่ และพัฒนาเส้นทางรถไฟเก่าบริเวณสะพานพระปกเกล้าที่ถูกปล่อยร้างมานานทำเป็น สวนสาธารณะลอยฟ้า มีจุดชมวิวกลางแม่น้ำเจ้าพระยา สถานที่พักผ่อนและออกกำลังกายของคนทุกวัย และยังเพิ่มเส้นทางการท่องเที่ยวจากฝั่งพระนคร-ฝั่งธนบุรี ตั้งแต่ถนนคนเดินคลองโอ่งอ่าง – ตลาดสำเพ็ง – ถนนเยาวราช – ตลาดน้อย - สวนลอยฟ้าเจ้าพระยา – ชุมชนกุฎีจีน (กะดีจีน) และยังผลักดันเชื่อม 3 สวนสาธารณะใหญ่ สวนจตุจักร สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และสวนวชิรเบญทัศ ให้เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่สุดในประเทศไทย ระดับมหานคร เป็นอันดับ 3 ของโลก และยังพัฒนาคลองช่องนนทรี ให้เป็นสวนสาธารณะคลองที่ยาวที่สุดแห่งแรกของไทย มีความยาวถึง 4.5 กม. พื้นที่สีเขียว เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้และแหล่งพักผ่อนให้กับชุมชนและคนทำงาน เพิ่มทางวิ่ง/จักรยาน ระยะทางไป-กลับ มากถึง 9 กิโลเมตร ใช้คลองบำบัดน้ำตามธรรมชาติได้มากกว่าเดิม รวมทั้งเพิ่มทางเชื่อมต่อผู้คนในย่านการค้า
 
'''“สาธารณสุข”''' ขยายศักยภาพการให้บริการทั้งโรงพยาบาลในสังกัด กทม. และศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อให้ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของประชาชน และให้ประชาชนเข้าถึงระบบการบริการในทุกพื้นที่เขตให้มากที่สุด  โดยก่อสร้างอาคาร ขยายเตียง และเปิดศูนย์การรักษาเฉพาะทาง และพัฒนาระบบการบริการออนไลน์เพิ่มความสะดวกในการเข้ารับบริการ
 
1.      โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ เปิดศูนย์ตรวจรักษาผ่าตัดผ่านกล้อง ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ อาคารเวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู
 
2.      โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ สถานที่พักฟื้นผู้สูงอายุ และขยายเตียง ผู้ป่วยใน 100 เตียง
 
3.      โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ เปิดศูนย์สุขภาพ
 
4.      โรงพยาบาลคลองสามวา เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคทั่วไป
 
5.      โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคทั่วไป
 
6.      โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก และเปิดศูนย์ไตเทียม หออภิบาลผู้ป่วยหนัก
 
7.      คลินิกมลพิษทางอากาศ เปิดในโรงพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลกลาง
 
8.      พัฒนาศูนย์การแพทย์ชั้นคลินิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช[8]
 
และยังมีการพัฒนาระบบการบริการทางสาธารณสุข เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมีระบบ Smart OPD บริการนัดหมายล่วงหน้าเพื่อพบแพทย์ภายใน 60 นาที ทำบัตรผู้ป่วยออนไลน์ ตรวจสอบสิทธิการรักษา แสดงคิวนัด และส่งยาถึงบ้าน Telemedicine  และมีระบบบริการเจาะเลือดถึงบ้าน (Mobile Lab) ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และผู้ป่วยติดเตียง ที่ รพ.ราชพิพัฒน์ และจะขยายการบริการให้ครบทุกโรงพยาบาล ในสังกัด กทม. และทุกศูนย์บริการสาธารณสุข
 
ในปี 2562 ที่มีสถานการณ์วิกฤตของการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้ผลักดันให้มีการทำระบบคัดกรอง BKK COVID-19 เพื่อประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อการตรวจหาเชื้อโควิด-19 เชิงรุก ด้วยการบริการ SWAB ถึงบ้านกับหมอแล็บแพนด้า และช่วงที่สถานการณ์วิกฤตเพิ่มมากขึ้น ได้ผลักดันให้มีการขยายศักยภาพโรงพยาบาลรองรับผู้ป่วยโควิด จัดตั้ง ICU สนาม ด้วยนวัตกรรม Modular ICU 3 แห่ง 343 เตียง จัดตั้งโรงพยาบาลสนาม 13 แห่ง Hospitel ศูนย์พักคอย 62 แห่ง จัดทีมปฏิบัติการเชิงรุก (Bangkok CCRT) เพื่อกระจายลงพื้นที่ตรวจหาเชื้อเชิงรุก ฉีดวัคซีนให้กับคนในชุมชนพื้นที่เสี่ยง และจัดส่งยาอาหารให้ผู้ป่วยที่รักษาตัวที่บ้าน จัดเทศกิจอาสาช่วยเหลือรับ-ส่งผู้ป่วย พัฒนาระบบ BKK covid19 Connect เพิ่มช่องทางแจ้งข้อมูลเพื่อเข้ารับการรักษา และพัฒนาระบบ BKK HI Care บริการผู้ป่วยที่พักรักษาตัวที่บ้าน พร้อมจัดทำระบบการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด โดยจัดทำระบบลงทะเบียนเปิดรับการบริจาค BKK Help และยังผลักดันการจัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีนนอกโรงพยาบาลเพื่อกระจายวัคซีนให้เข้าถึงประชาชนมากที่สุด โดยร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีน ไทยร่วมใจ กรุงเทพฯ ปลอดภัย รวมทั้งได้จัดหน่วยฉีดวัคซีนเคลื่อนที่ด้วยรถ BMV (BKK Mobile Vaccination Unit)<ref>{{Cite web|title=รถฉีดวัคซีนถึงบ้าน ปูพรมกลุ่มเสี่ยง-คลัสเตอร์ในกรุง|url=https://www.thaipost.net/main/detail/116575|website=Thai Post {{!}} อิสรภาพแห่งความคิด|language=en}}</ref> และหน่วยเคลื่อนที่ฉีดวัคซีนผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่มีศูนย์บริการสาธารณสุขใกล้บ้านเข้าไปฉีดให้ถึงบ้านประชาชน และพัฒนาระบบการลงทะเบียนฉีดวัคซีนผ่านแอปพลิเคชัน Line OA และ QueQ  ที่นอกจากจะพัฒนาระบบการรักษาในสถานการณ์วิกฤตแล้ว ยังได้ผลักดันให้มีเปิดรับบุคลากรภายนอก ทั้งพยาบาล พนักงานช่วยงานด้านสาธารณสุขและธุรการ<ref>{{Cite web|last=matichon|date=2021-08-09|title=สมัครด่วน! กทม.รับพยาบาล-พนง.ช่วยงานด้านสาธารณสุข และธุรการ กว่า 1,000 อัตรา|url=https://www.matichon.co.th/local/news_2875191|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> มาช่วยเสริมกำลังให้กับทีมแพทย์ พยาบาล
 
'''“โรงเรียน กทม.”''' เพิ่มห้องเรียนสองภาษา 74 โรงเรียน ส่งไปเรียนภาษาอังกฤษในต่างประเทศ ทั้งสิงคโปร์ และออสเตรเลีย เพิ่มหลักสูตรฝึกอาชีพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 23 โรงเรียน พร้อมมีหลักสูตรเรียนเสริมทักษะ ทวิศึกษา เรียนสายสามัญควบคู่สายอาชีพ จบมาได้ 2 วุฒิ และเพิ่มโอกาสการศึกษาให้เด็กทุกคนที่อาศัยในกรุงเทพ  เพิ่มหลักสูตรเรียนร่วม<ref>{{Cite web|date=2018-06-18|title=กทม.สั่งโรงเรียนในสังกัดวางแผนการศึกษาดูแล"เด็กพิเศษ"|url=https://mgronline.com/uptodate/detail/9610000060360|website=mgronline.com|language=th}}</ref>สำหรับนักเรียนที่ต้องการดูแลเป็นพิเศษกับนักเรียนปกติ 155 โรงเรียน และให้ทุนเอราวัณสำหรับเด็กนักเรียนสังกัดโรงเรียน กทม. เรียนจบบรรจุเป็นครู กทม. และให้ทุน “ช้อนครู” โดยไปช้อนหานักศึกษาปริญญาตรี ปี 5 ที่เรียนด้านการศึกษามีผลการเรียนดีเด่น มอบทุนเรียนปีสุดท้ายและให้บรรจุเป็น ครู กทม.
 
นอกจากนี้  ได้เพิ่มสถานีดับเพลิงให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อจะได้เข้าช่วยเหลือระงับเหตุสาธารณภัยต่าง ๆ ได้อย่างทันท่วงที โดยเพิ่มแล้ว 5 สถานี สถานีดับเพลิงฯ ดอนเมือง สถานีดับเพลิงฯ พหลโยธิน สถานีดับเพลิงฯ เฉลิมพระเกียรติ เขตประเวศ สถานีดับเพลิงฯ ร่มเกล้า และสถานีดับเพลิงฯ ราษฎร์บูรณะ และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 7 สถานี จะเดินหน้าพัฒนาสร้างความปลอดภัยในทุกพื้นที่  และยังพัฒนาเพิ่มไฟฟ้าส่องสว่างในจุดเปลี่ยวทั่ว กทม. ติดตั้งไฟส่องสว่าง ใหม่ 5,998 ดวง และซ่อมแซม 141,037 ดวง โดยติดตั้งไฟส่องสว่าง ในสวนสาธารณะ 179 แห่ง ติดตั้งไฟส่องสว่าง บนสะพานลอย 723 แห่ง ติดตั้งไฟส่องสว่าง บนถนน 694 เส้น และติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ในซอย 5,749 ซอย และตรอก 133 ตรอก และติดตั้งกล้อง CCTV ใหม่เพิ่มกว่า 20,000 กล้อง แบบเชื่อมต่อศูนย์ควบคุม 13  ศูนย์ ครบทุกตัวกว่า 62,000 กล้อง ครอบคลุมพื้นที่ทั่ว กทม.และพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนกรุงเทพฯ อย่างต่อเนื่อง โดยสร้างศูนย์สร้างสุขทุกวัยครบทั้ง 50 เขต รวม 66 แห่ง เพิ่มพื้นที่บริการนันทนาการและศูนย์กีฬาที่ออกกำลังกายใกล้ชุมชน และจัดตั้งโรงเรียนฝึกอาชีพแห่งใหม่ที่ประเวศ เปิดสอนวิชาชีพให้กับประชาชนที่ต้องการสร้างอาชีพเสริมรายได้ให้กับครอบครัว
 
แก้ปัญหาการกำจัดขยะมูลฝอย ลดพื้นที่การฝังกลบ ลดการแพร่เชื้อโรคและลดผลกระทบต่อคนในชุมชนต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาวิธีการกำจัดขยะ ใช้เทคโนโลยีเชิงกล-ชีวภาพ และใช้เทคโนโลยีเตาเผาพลังงานไฟฟ้า และแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 โดยมีส่วนร่วมในการวางแผนปฏิบัติการกับ 23 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้เกิดแผนการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5ของกรุงเทพมหานคร และพัฒนาระบบการรายงานคุณภาพอากาศของ กทม.ด้วย แอปพลิเคชัน Air BKK และ ติดตั้งเครื่องตรวจวัดฝุ่น PM 2.5 ในสวนสาธารณะ 20 แห่ง ครบทุกจุดทั้ง 50 สำนักงานเขต รวมทั้งพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียใน กทม. แล้ว 2 แห่ง ที่มีนบุรี และธนบุรี
----