ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศรีนิวาสะ รามานุชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 17:
 
'''ศรีนิวาสะ ไอเยนการ์ รามานุชัน''' ({{lang-en|Srīnivāsa Aiyangār Rāmānujam}}; {{lang-ta|சீனிவாச இராமானுஜன் หรือ ஸ்ரீனிவாஸ ஐயங்கார் ராமானுஜன்}}) (22 ธันวาคม ค.ศ. 1887 – 26 เมษายน ค.ศ. 1920) สมาชิก[[ราชสมาคมแห่งลอนดอน]] เป็น[[นักคณิตศาสตร์]]ชาว[[อินเดีย]] ซึ่งได้สร้างงานวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ทฤษฎีบทต่างๆ ทาง[[ทฤษฎีจำนวน]] [[อนุกรมอนันต์]] และ[[เศษส่วนต่อเนื่อง]] โดยที่ไม่เคยรับการศึกษาด้านคณิตศาสตร์อย่างเป็นทางการเลย [[ก็อดฟรีย์ ฮาร์ดี้]] นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษกล่าวถึงอัจฉริยภาพของรามานุชันว่าเทียบเท่ากับนักคณิตศาสตร์ระดับตำนาน เช่น [[ออยเลอร์]] [[คาร์ล ฟรีดริช เกาส์|เกาส์]] [[ไอแซค นิวตัน|นิวตัน]] และ[[อาร์คิมีดีส]]<ref>[[ซี. พี. สโนว์]] คำนำใน "[[A Mathematician's Apology]]" ของ [[จี. เอช. ฮาร์ดี้]]</ref>
 
==ประวัติ==
== วิธีทำ ==
รามานุจันเกิดที่เมืองอีโรด ทางใต้ของประเทศอินเดีย ได้รู้จักกับคณิตศาสตร์ครั้งแรกเมื่ออายุ 10 ปี จากทักษะโดยธรรมชาติด้านคณิตศาสตร์ รามานุจันจึงได้รับหนังสือ[[ตรีโกณมิติ]]ของ เอส. แอล. โลนีย์<ref>{{Cite book|last=Berndt |first=Bruce C. |title= Ramanujan: Essays and Surveys|year= 2001 |publisher= [[American Mathematical Society]] |location=Providence, Rhode Island|isbn= 0-8218-2624-7 | pages=9}}</ref> และเขาศึกษาจนเชี่ยวชาญเมื่ออายุเพียง 12 ปี กระทั่งสามารถค้นพบ[[ทฤษฎีบท]]ของตัวเอง ผลจากความสามารถอันโดดเด่นด้านคณิตศาสตร์ทำให้เขาได้รับทุนการศึกษา รามานุจันทำวิจัยเรื่อง[[จำนวนแบร์นูลลี]]และ[[ค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี]]ด้วยตนเองเมื่ออายุ 17 และได้รับทุนเข้าเรียนต่อที่วิทยาลัยของรัฐในเมืองคัมบาโคนัม แต่ต่อมาเขาสูญเสียทุนนี้ไปเพราะผลการเรียนด้านอื่นนอกเหนือจากคณิตศาสตร์นั้นแย่มาก เขาทำงานวิจัยของตนเองที่วิทยาลัยอื่น พร้อมกับทำงานเป็นเสมียนที่สำนักงานบัญชีแห่งหนึ่งในเมืองมัทราสเพื่อหาเลี้ยงตัว<ref name="lostnotebook">{{Cite web|url=http://www.las.uiuc.edu/alumni/news/fall2006/06fall_lostnotebook.html|title=Raiders of the Lost Notebook|accessdate=2007-06-22|last=Peterson|first=Doug|publisher=[[UIUC College of Liberal Arts and Sciences]]|archiveurl=https://web.archive.org/web/20070517174549/http://www.las.uiuc.edu/alumni/news/fall2006/06fall_lostnotebook.html|archivedate=2007-05-17|url-status=dead}}</ref> ในปี ค.ศ. 1912-1913 เขาส่งตัวอย่างทฤษฎีบทจำนวนหนึ่งไปให้นักคณิตศาสตร์ที่[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] 3 คน แต่มีเพียงก็อดฟรีย์ ฮาร์ดี้ ที่มองเห็นอัจฉริยภาพในงานของเขา และต่อมาได้เชิญให้รามานุจันไปร่วมงานกับเขาที่เคมบริดจ์ รามานุจันได้เป็นสมาชิก[[ราชสมาคมแห่งลอนดอน]]และสมาชิกวิทยาลัยทรินิตี้ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ต่อมาล้มป่วยและเดินทางกลับไปอินเดีย เขาเสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1920 ขณะมีอายุเพียง 32 ปี
 
== มาดูวิธีทอดไข่เจียวกันครับ ==
1.ตีไข่:ใส่งไปในถ้วยที่เตรียมไว้ ใส่น้ำปลา ซอสหอยนางรม ตีให้เข้ากัน
 
2.ทอดไข่:ตั้งกระทะไฟกลาง เทน้ำมันพืชลงไป รอจนน้ำมันเดือด เทไข่ที่ปรุงไว้ลงไปผ่านกระชอน ทอด จนเหลืองกรอบ
 
3.จัดเสิร์ฟ:ตักใส่จานที่เตรียมไว้ โรยต้นหอมซอย พร้อมเสิร์ฟ
 
==ผลงาน==
ตลอดช่วงชีวิตอันแสนสั้น รามานุจันสร้างผลงานของตนเองทั้งสิ้นเกือบ 4,000 รายการ (ส่วนมากเป็นเอกลักษณ์หรือสมการ)<ref>{{Cite book|last=Berndt |first=Bruce C. |title= Ramanujan's Notebooks Part V|year= 2005 |publisher= [[Springer Science+Business Media|SpringerLink]] |isbn= 0-387-94941-0 | pages=4}}</ref> บางส่วนในจำนวนนี้ซึ่งเป็นจำนวนน้อยมาก มีบางส่วนที่ผิด และบางส่วนก็มีผู้ค้นพบไปแล้ว แต่งานส่วนใหญ่ได้รับการพิสูจน์ว่าถูกต้อง<ref>{{Cite journal |year=1999 |month=August |title=Rediscovering Ramanujan |journal=[[Frontline (magazine)|Frontline]] |volume=16 |issue=17 |pages=650 |url=http://www.hinduonnet.com/fline/fl1617/16170810.htm |accessdate=2007-06-23 |archive-date=2007-06-13 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070613130210/http://www.hinduonnet.com/fline/fl1617/16170810.htm |url-status=dead }}</ref> ผลงานเหล่านั้นเป็นงานที่สร้างขึ้นใหม่ มีความแปลกประหลาดอย่างยิ่ง เช่น [[จำนวนเฉพาะรามานุจัน]] และ [[ฟังก์ชันทีตาของรามานุจัน]] งานเหล่านี้สร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการวิจัยต่อยอดขึ้นไปอีกเป็นจำนวนมหาศาล<ref>{{Cite journal|last=Ono |first= Ken|authorlink=Ken Ono |year=2006 |month=June–July |title=Honoring a Gift from Kumbakonam |journal= [[Notices of the American Mathematical Society]]|volume=53 |issue=6 |pages=650|url=http://www.ams.org/notices/200606/fea-ono.pdf |format=PDF|accessdate=2007-06-23 |doi=10.2307/2589114 |last2=Rankin |first2=Robert A. |jstor=10.2307/2589114 |publisher=Mathematical Association of America }}</ref> อย่างไรก็ดี การค้นพบชิ้นสำคัญของเขาบางส่วนก็เข้าสู่คณิตศาสตร์กระแสหลักค่อนข้างช้า เช่นเมื่อไม่นานมานี้ เพิ่งมีการค้นพบว่าสามารถนำสมการของรามานุจันไปประยุกต์ใช้กับ [[crystallography]] และ [[ทฤษฎีสตริง]] ได้{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} วารสารนานาชาติ ชื่อ ''Ramanujan Journal'' จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานคณิตศาสตร์ทุกแขนงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเขา<ref>{{Cite book| last=Alladi | first=Krishnaswami | title=Analytic and Elementary Number Theory: A Tribute to Mathematical Legend Paul Erdös| publisher=Kluwer Academic Publishers | location=Norwell, Massachusetts | year = 1998|isbn=0-7923-8273-0 | pages=6 }}</ref>