ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายล้มละลาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NguoiDungKhongDinhDanh (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 2001:44C8:4249:4E41:1:2:69A5:816E (talk) to last version by 113.53.7.95
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10:
 
== ไทย ==
อย่างไรก็ตาม กฎหมายล้มละลายของไทยไม่อนุญาตอนุญาต​ให้ลูกหนี้ร้องขอให้ตัวเองล้มละลายได้ แต่ลูกหนี้สามารถร้องขอให้ตัวเองฟื้นฟูกิจการได้
=== การเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย ===
พระราชบัญญัติล้มละลายไม่ได้จำกัดไว้ว่าผู้ที่ล้มละลายจะต้องเป็นบุคคลประเภทใด ดังนั้น ไม่ว่าบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลประเภทใดก็สามารถล้มละลายได้ ต่างจากการฟื้นฟูกิจการที่จะต้องเป็นบริษัทจำกัดหรือบรัษัทมหาชนจำกัดเท่านั้น โดยกฎหมายกำหนดวิธีการขอให้ลูกหนี้ล้มละลายไว้ 5 วิธี ดังนี้
 
1. เจ้าหนี้ธรรมดาฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลาย <ref>มาตรา 9 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
 
2. เจ้าหนี้มีประกันฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลาย <ref>มาตรา 10 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
 
3. เจ้าหนี้ฟ้องขอให้จัดการทรัพย์มรดกของลูกหนี้ที่ตาย <ref>มาตรา 82 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
 
4. ผู้ชำระบัญชีร้องขอให้นิติบุคคลล้มละลาย <ref>มาตรา 88 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
 
5. เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอให้หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดล้มละลายตามห้างหุ้นส่วนสามัญ <ref>มาตรา 89 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
 
อย่างไรก็ตาม กฎหมายล้มละลายของไทยไม่อนุญาตให้ลูกหนี้ร้องขอให้ตัวเองล้มละลายได้ แต่ลูกหนี้สามารถร้องขอให้ตัวเองฟื้นฟูกิจการได้
 
=== การฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลายโดยเจ้าหนี้ ===