ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
กระซู่ไม่ใช้แรด
ป้ายระบุ: ถูกแทน ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{{Taxobox
| name = กระซู่, แรดสุมาตรา<ref name=MSW3>Grubb, Peter (16 November 2005). [http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14100054 "Order Perissodactyla (pp. 629-636)"]. In Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M., eds. [http://www.google.co.th/books?id=JgAMbNSt8ikC&pg=PA635&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false Mammal Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference (3rd ed.)]. Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). p. 635. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494</ref>
| status = CR
| trend = unknown
| status_system = iucn3.1
| status_ref = <ref name=IUCN>{{IUCN2008|assessors=[[Nico van Strien|van Strien, N.J.]], Manullang, B., Sectionov, Isnan, W., Khan, M.K.M, Sumardja, E., Ellis, S., Han, K.H., Boeadi, Payne, J. & Bradley Martin, E.|year=2008|id=6553|title=Dicerorhinus sumatrensis|downloaded=28 November 2008}}</ref>
| image = Sumatran Rhino 2.jpg
| image_caption =
| image_width = 250px
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
| classis = [[Mammal]]ia
| ordo = [[Perissodactyla]]
| familia = [[Rhinocerotidae]]
| genus = '''''Dicerorhinus'''''
|genus_authority = [[Gloger]], 1841
| species = '''''D. sumatrensis'''''
| binomial = ''Dicerorhinus sumatrensis''
| binomial_authority = ([[Johann Fischer von Waldheim|Fischer]], [[ค.ศ. 1814|1814]])<ref name=Taxhistory/>
<imagemap>
ไฟล์:Sumatran Rhino range.svg|230px|Sumatran Rhino range
circle 320 510 12 [[อุทยานแห่งชาติตามันเนอการา]]
circle 595 505 12 [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตามิน]]
circle 250 550 12 [[อุทยานแห่งชาติกูนุงละอูเซร์]]
circle 315 660 12 [[อุทยานแห่งชาติกะรินจีซะบลัต]]
circle 355 712 12 [[อุทยานแห่งชาติบุกิตบารีซันซะลาตัน]]
circle 375 700 12 [[อุทยานแห่งชาติวาย์กัมบัส]]
 
'''กระซู่'''<ref name="โลกสีเขียว">โลกสีเขียว [http://www.verdantplanet.org/animalfiles/sumatranrhinoceros_(Dicerorhinus_sumatrensis).php กระซู่] แฟ้มสัตว์โลก</ref> ({{lang-en|Sumatran Tyrannosaurus<ref>Wilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005). [http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14100054. Mammal Species of the World] (3rd edition ed.). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ ISBN 0-8018-8221-4</ref>}}; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Dicerorhinus sumatrensis'') ไม่ใช้แรด
desc none
</imagemap>
<center><small>
การกระจายพันธุ์ของกระซู่ สามารถคลิ๊กบนแผนที่ถิ่นอาศัยของกระซู่ในปัจจุบันได้ โดยจะแสดงชื่อของพื้นที่ที่มีกระซู่อาศัยอยู่<ref>Derived from range maps in:
* {{Cite book | last = Foose | first = Thomas J. and van Strien, Nico | year = 1997 | title = Asian Rhinos – Status Survey and Conservation Action Plan | publisher = IUCN, Gland, Switzerland, and Cambridge, UK | isbn = 2-8317-0336-0}}<br />and
* {{Cite book | title = The Return of the Unicorns; The Natural History and Conservation of the Greater One-Horned Rhinoceros | last = Dinerstein | first = Eric | publisher = [[Columbia University Press]] | location = [[New York]] | year = 2003 | isbn = 0-231-08450-1 }}<br />This map does not include unconfirmed historical sightings in Laos and Vietnam or possible remaining populations in Burma.</ref></small></center>
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subdivision =
''Dicerorhinus sumatrensis harrissoni''<br />
''Dicerorhinus sumatrensis sumatrensis''<br />
†''Dicerorhinus sumatrensis lasiotis''
}}
 
'''กระซู่''', '''แรดสุมาตรา''' หรือ '''แรดขน'''<ref name="โลกสีเขียว" /> ({{lang-en|Sumatran Rhinoceros<ref>Wilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005). [http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14100054. Mammal Species of the World] (3rd edition ed.). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ ISBN 0-8018-8221-4</ref>}}; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Dicerorhinus sumatrensis'') เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ใน[[อันดับสัตว์กีบคี่]]จำพวก[[แรด]] กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียวที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Dicerorhinus'' ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์ มาจนถึงปัจจุบัน มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือน[[แรดชวา]] นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม. ลำตัวมีขนหยาบและยาวปกคลุม เมื่อโตเต็มที่สูง 120–145&nbsp;[[เซนติเมตร|ซม.]] จรดหัวไหล่ ยาว 250 ซม. และมีน้ำหนัก 500-800 [[กิโลกรัม|กก.]]
 
กระซู่อาศัยอยู่ใน[[ป่าดิบชื้น]] [[ป่าพรุ]] และ [[ป่าเมฆ]]ใน[[ประเทศอินเดีย]] [[ภูฏาน]] [[บังกลาเทศ]] [[พม่า]] [[ลาว]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเซีย]] และ[[ประเทศจีน|จีน]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[มณฑลเสฉวน]]<ref>''The Art of Rhinoceros Horn Carving in China'' (1999), p. 27. Jan Chapman. Christie’s Books. ลอนดอน</ref><ref>''The Golden Peaches of Samarkand: A study of T’ang Exotics'' (1963), p 83. Edward H. Schafer. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กเลย์ และ ลอสแอนเจลิส First paperback edition: 1985.</ref> ปัจจุบัน กระซู่ถูกคุกคามจนอยู่ในขั้นวิกฤติ เหลือสังคมประชากรเพียงหกแหล่งในป่า มีสี่แหล่งใน[[สุมาตรา]] หนึ่งแหล่งใน[[บอร์เนียว]] และอีกหนึ่งแหล่งใน[[มาเลเซียตะวันตก]] จำนวนกระซู่ในปัจจุบันยากที่จะประมาณการได้เพราะเป็นสัตว์สันโดษที่มีพิสัยกระจัดกระจายเป็นวงกว้าง แต่คาดว่าเหลืออยู่ไม่ถึง 100 ตัว สาเหตุอันดับแรกของการลดลงของจำนวนประชากรคือการล่าเอานอซึ่งมีค่ามากในการแพทย์แผนจีน ขายได้ถึง 30,000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]ต่อกิโลกรัมในตลาดมืด<ref name=Dinerstein/> นอกจากนี้ยังถูกคุกคามถิ่นอาศัยจากอุตสาหกรรมป่าไม้และเกษตรกรรม
 
กระซู่เป็นสัตว์สันโดษมักอยู่เพียงลำพังตัวเดียวยกเว้นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน กระซู่เป็นแรดที่เปล่งเสียงร้องมากที่สุดการสื่อสารของกระซู่ยังรวมถึงการทำร่องรอยด้วยเท้า บิดงอไม้หนุ่มเป็นรูปแบบต่าง ๆ และการถ่ายมูลและละอองเยี่ยว มีการศึกษาในกระซู่มากกว่า[[แรดชวา]]ซึ่งเป็นสัตว์สันโดษเหมือนกัน เพราะโปรแกรมที่นำกระซู่ 40 ตัวมาสู่กรงเลี้ยงที่มีเป้าหมายเพื่ออนุรักษ์สปีชีส์นี้ไว้ ในตอนแรกโปรแกรมนี้ถือว่าประสบความล้มเหลว มีกระซู่ตายจำนวนมากและไม่มีการให้กำเนิดลูกกระซู่เลยเกือบ 20 ปี การสูญเสียกระซู่ในโปรแกรมมากกว่าการสูญเสียกระซู่ในป่าเสียอีก
 
== อนุกรมวิธานและชื่อ ==
ตามที่มีการบันทึกในเอกสาร ในปี พ.ศ. 2336 มีการยิงกระซู่ได้ที่บริเวณห่างจากฟอร์ต มาร์ลโบราวก์ (Fort Marlborough) 16 กิโลเมตร ใกล้กับชายฝั่งด้านตะวันตกของ[[สุมาตรา]] โจเซฟ แบงส์ (Joseph Banks) นักธรรมชาติวิทยาซึ่งขณะนั้นเป็นนายกของราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอนได้รับภาพวาดและรายละเอียดของกระซู่ และได้ตีพิมพ์เอกสารบนพื้นฐานของตัวอย่างในปีนั้น จนกระทั่งปี พ.ศ. 2357 กระซู่จึงได้รับการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์โดย โยฮันน์ ฟิสเคอร์ ฟอน วัล์ดไฮม (Johann Fischer von Waldheim) ชาว[[เยอรมัน]] [[นักวิทยาศาสตร์]]และ[[ภัณฑารักษ์]]แห่งพิพิธภัณฑ์ดาร์วินสเตตแห่ง[[มอสโก]] [[ประเทศรัสเซีย]]<ref name="Asian sightings">{{Cite book | author = Rookmaaker, Kees | year = 2005 | chapter = First sightings of Asian rhinos | pages = 52 | editor = Fulconis, R. | title = Save the rhinos: EAZA Rhino Campaign 2005/6 | location = London | publisher = [[European Association of Zoos and Aquaria]] }}</ref><ref name= Morales>{{Cite journal | year = 1997 | last = Morales | first = Juan Carlos | coauthors = Patrick Mahedi Andau, Jatna Supriatna, Zainuddin Zainal-Zahari, and Don J. Melnick | title = Mitochondrial DNA Variability and Conservation Genetics of the Sumatran Rhinoceros | journal = Conservation Biology | volume = 11 | issue = 2 | pages = 539–543 | doi = 10.1046/j.1523-1739.1997.96171.x }}</ref>
 
ชื่อ ''Dicerorhinus sumatrensis'' มาจากคำใน[[ภาษากรีก]] ''{{lang|grc-Latn|di}}'' ({{lang|grc|δι}} แปลว่า "สอง") ''{{lang|grc-Latn|cero}}'' ({{lang|grc|κέρας}} แปลว่า "เขา หรือ นอ") และ ''{{lang|grc-Latn|rhinos}}'' ({{lang|grc|ρινος}} แปลว่า "[[จมูก]]") <ref>{{cite book|last=Liddell | first=Henry G.|authorlink=Henry Liddell|coauthors=and [[Robert Scott (philologist)|Robert Scott]]|year=1980|title=Greek-English Lexicon|edition=Abridged|publisher=Oxford University Press|location=Oxford|isbn=0-19-910207-4}}</ref> ''Sumatrensis'' มาจาก[[สุมาตรา]] เกาะใน[[ประเทศอินโดนีเซีย]]เป็นที่พบกระซู่เป็นครั้งแรก<ref name="van Strien">{{Cite book | author = van Strien, Nico | year = 2005 | chapter = Sumatran rhinoceros | pages = 70–74 | editor = Fulconis, R. | title = Save the rhinos: EAZA Rhino Campaign 2005/6 | location = London | publisher = [[European Association of Zoos and Aquaria]] }}</ref> เริ่มแรก[[คาโรลัส ลินเนียส]]จำแนกแรดทั้งหมดอยู่ในสกุล ''Rhinoceros'' ดังนั้นกระซู่จึงจำแนกเป็น ''Rhinoceros sumatrensis'' ในปี พ.ศ. 2371 โจส์ฮัว บรูกส์ (Joshua Brookes) พิจารณาว่ากระซู่มีสองนอควรมีสกุลที่ต่างจากสกุล ''Rhinoceros'' ซึ่งเป็นแรดนอเดียว เขาจึงตั้งชื่อสกุลใหม่ว่า ''Didermocerus'' ในปี พ.ศ. 2384 คอนสทันทิน วิลเฮอล์ม ลัมเบอร์ท กลอเกอร์ (Constantin Wilhelm Lambert Gloger) ได้เสนอชื่อเป็น ''Dicerorhinus'' ในปี พ.ศ. 2411 จอห์น เอ็ดวาร์ด เกรย์ (John Edward Gray) เสนอชื่อเป็น ''Ceratorhinus'' โดยปกติแล้วจะนำชื่อเก่าสุดมาใช้ แต่เพราะกฎเกณฑ์ที่กำหนดในปี พ.ศ. 2520 โดยคณะกรรมการระบบชื่ออนุกรมวิธานสัตว์สากล ชื่อสกุลของกระซู่จึงเป็น ''Dicerorhinus''<ref name=Taxhistory/><ref>[[International Commission on Zoological Nomenclature]] (1977). "Opinion 1080. Didermocerus Brookes, 1828 (Mammalia) suppressed under the plenary powers". ''Bulletin of Zoological Nomenclature'', '''34''':21–24.</ref>
 
กระซู่มีสาม[[สปีชีส์ย่อย]]:
* '''''D.s. sumatrensis''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันตก''' มีเหลืออยู่ราว 75-85 ตัวเท่านั้น ส่วนใหญ่พบอยู่ในอุทยานแห่งชาติ Bukit Barisan Selatan และ Gunung Leuser บนเกาะสุมาตรา ปัจจัยคุกคามหลักของสปีชีส์ย่อยนี้คือการสูญเสียถิ่นอาศัยและการดักจับอย่างผิดกฎหมาย มีความแตกต่างทาง[[พันธุศาสตร์|พันธุกรรม]]เล็กน้อยระหว่างแรดสุมาตราตะวันตกและตะวันออก<ref name="IUCN Dss">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6556 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' sumatrensis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> กระซู่ในทางมาเลเซียตะวันตกมีอีกชื่อหนึ่งคือ ''D.s. niger'' แต่ภายหลังพบว่าเป็นสปีชีส์ย่อยเดียวกับกระซู่ทางตะวันตกของสุมาตรา<ref name=Taxhistory>{{Cite journal | author = Rookmaaker, L.C. | year = 1984 | title = The taxonomic history of the recent forms of Sumatran Rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | journal = Journal of the Malayan Branch of the Royal Asiatic Society | volume = 57 | issue = 1 | pages = 12–25 }}</ref>
 
* '''''D.s. harrissoni''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันออก''' หรือ '''แรดบอร์เนียว''' พบตลอดทั้งเกาะ[[บอร์เนียว]] ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้ว เหลือเพียง 3 ตัวในที่เลี้ยง เป็นตัวผู้ 1 ตัว และตัวเมียอีก 2 ตัว ซึ่งทั้งสามตัวนี้ไม่พร้อมที่จะผสมพันธุ์ ตัวเมียทั้งคู่ (ชื่อ Puntung and Iman) มีสุขภาพที่ไม่ดี และไม่พร้อมที่จะตั้งท้อง ส่วนตัวผู้เพียงตัวเดียว (ชื่อ Tam) มีอัตราการสร้างอสุจิที่ต่ำ และอ่อนแอ<ref name="Sandra">Sandra Sokial (15 September 2015). "Sumatran rhinos living on borrowed time in Sabah". The Rakyat Post. Retrieved 30 September 2015</ref> นอกจากนี้ยังมีรายงานที่ไม่มีการยืนยันว่าพบแรดบอร์เนียวใน[[รัฐซาราวัก]]และ[[กาลีมันตัน]]<ref name="IUCN Dsh">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6555 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' harrissoni'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อของสปีชีส์ย่อยนี้ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ ทอม แฮร์ริสัน (Tom Harrisson) ผู้ซึ่งทำงานในด้านสัตววิทยาและมานุษยวิทยาในบอร์เนียวอย่างยาวนานในคริสต์ทศวรรษ 1960<ref>{{Cite journal | title = Description of a new subspecies of Rhinoceros, from Borneo, ''Didermocerus sumatrensis harrissoni'' | author = Groves, C.P. | year = 1965 | journal = Saugetierkundliche Mitteilungen | volume = 13 | issue = 3 | pages = 128–131 }}</ref> แรดบอร์เนียวมีขนาดเล็กกว่าอีกสองสปีชีส์ย่อย<ref name=Taxhistory/>
 
* '''''D.s. lasiotis''''' หรือ '''แรดสุมาตราเหนือ''' เป็นสปีชีส์ย่อยเดียวที่มีการกระจายพันธุ์ใน[[ประเทศอินเดีย]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]] แต่ได้ประกาศว่ามี[[การสูญพันธุ์]]จากประเทศเหล่านั้นไปแล้ว มีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่ามีประชากรกลุ่มเล็ก ๆ ที่ยังเหลือรอดใน[[ประเทศพม่า]]และสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศก็ไม่อำนวยให้ทำการพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้<ref name="IUCN Dsl">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6554 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' lasiotis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อ ''lasiotis'' มาจากภาษากรีกเพื่อแสดงถึงลักษณะ"หูเต็มไปด้วยขน" จากการศึกษาในภายหลังพบว่าขนที่หูไม่ได้ยาวไปกว่ากระซู่สปีชีส์ย่อยอื่นเลย แต่ ''D.s. lasiotis'' ยังคงเป็นสปีชีส์ย่อยอยู่ก็เพราะมีขนาดใหญ่กว่าสปีชีส์ย่อยอื่น<ref name=Taxhistory/>
 
=== วิวัฒนาการ ===
บรรพบุรุษของ[[แรด]]ได้วิวัฒนาการแยกตัวออกจาก[[สัตว์กีบคี่]]อื่นครั้งแรกในสมัยตอนต้นยุคแรกเริ่มที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมถือกำเนิดขึ้นมา (Eocene) การเปรียบเทียบทางไมโตคอนเดรียดีเอ็นเอ (Mitochondrial DNA) แสดงว่าบรรพบุรุษของแรดในปัจจุบันแยกตัวจากบรรพบุรุษของ[[ม้า]]ราว ๆ 50 ล้านปีมาแล้ว<ref name = Tougard>{{Cite journal | author = Tougard, C. | coauthors = T. Delefosse, C. Hoenni, and C. Montgelard | year = 2001 | title = Phylogenetic relationships of the five extant rhinoceros species (Rhinocerotidae, Perissodactyla) based on mitochondrial cytochrome b and 12s rRNA genes | journal = Molecular Phylogenetics and Evolution | volume = 19 | issue = 1 | pages = 34–44 | doi = 10.1006/mpev.2000.0903 | pmid = 11286489}}</ref><ref name=DNA>{{Cite journal | title = The Complete Mitochondrial DNA Sequence of the Greater Indian Rhinoceros, ''Rhinoceros unicornis'', and the Phylogenetic Relationship Among Carnivora, Perissodactyla, and Artiodactyla (+ Cetacea) | author = Xu, Xiufeng | coauthors = Axel Janke, and Ulfur Arnason | date=1 November 1996| journal = Molecular Biology and Evolution | volume = 13 | issue = 9 | pages = 1167–1173 | url = http://mbe.oxfordjournals.org/cgi/reprint/13/9/1167 | accessdate = 2007-11-04 | pmid = 8896369 }}</ref> ในวงศ์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน แรดปรากฏขึ้นครั้งแรกในตอนปลายยุคอีโอซีนใน[[ทวีปยูเรเชีย]] และบรรพบุรุษของแรดในปัจจุบันมีการกระจายพันธุ์จากเอเชียในยุคไมโอซีน (Miocene)<ref name=Dinerstein>{{Cite book | title = The Return of the Unicorns; The Natural History and Conservation of the Greater One-Horned Rhinoceros | last = Dinerstein | first = Eric | publisher = โรงพิมพ์[[มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย]] | location = [[นิวยอร์ก]] | year = 2003 | isbn = 0-231-08450-1 }}</ref><ref name=Lacombat>{{Cite book | author = Lacombat, Frédéric | year = 2005 | chapter = The evolution of the rhinoceros | pages = 46–49 | editor = Fulconis, R. | title = Save the rhinos: EAZA Rhino Campaign 2005/6 | location = London | publisher = [[European Association of Zoos and Aquaria]] }}</ref>
 
กระซู่มีลักษณะที่ได้รับมาจากบรรพบุรุษสมัยไมโอซีนน้อยที่สุดในบรรดาแรดด้วยกัน<ref name=Dinerstein/> ในการศึกษาหลักฐานทางบรรพชีวินวิทยาในอายุซากดึกดำบรรพ์สกุล ''Dicerorhinus'' อยู่ในตอนต้นยุคไมโอซีนหรือประมาณ 23–16 ล้านปีมาแล้ว ข้อมูลทางโมเลกุลแสดงว่า ''Dicerorhinus'' แยกจากสปีชีส์อื่นย้อนไปไกลถึง 25.9 ± 1.9 ล้านปี มีสมมุติฐานสามข้อที่ความสัมพันธ์ระหว่างกระซู่กับแรดชนิดอื่น ข้อหนึ่งกระซู่เป็นญาติใกล้ชิดกับ[[แรดขาว]]และ[[แรดดำ]]หลักฐานก็คือแรดทั้งสองชนิดมีสองนอ<ref name = Tougard/> กลุ่มที่สอง นักอนุกรมอื่น ๆ คิดว่ากระซู่มีลักษณะคล้ายคลึงกับชนิดที่เป็นพี่น้องคือ[[แรดชวา]]เพราะการกระจายพันธุ์ซ้อนทับกันมาก<ref name = Tougard/><ref name=Groves1983>{{Cite journal | author = Groves, C. P. | year = 1983 | title = Phylogeny of the living species of rhinoceros | journal = Zeitschrift fuer Zoologische Systematik und Evolutionsforschung | volume = 21 | pages = 293–313 }}</ref> กลุ่มสุดท้ายที่เพิ่งมีการวิเคราะห์เมื่อเร็ว ๆ นี้เสนอว่าแรด[[แอฟริกา]]สองชนิด แรด[[เอเชีย]]สองชนิด และกระซู่ แสดงให้เห็นถึงเชื้อสายที่แยกเป็นสามสายเมื่อประมาณ 25.9 ล้านปีมาแล้ว ด้วยเหตุนี้จึงไม่ชัดเจนเหมือนดังที่แยกไว้ในตอนแรก<ref name="Tougard"/><ref name=Cerdeno>{{Cite journal | last = Cerdeño | first = Esperanza | url = http://digitallibrary.amnh.org/dspace/bitstream/2246/3566/1/N3143.pdf |format=PDF| journal = Novitates | publisher = [[American Museum of Natural History]] | year = 1995 | title = Cladistic Analysis of the Family Rhinocerotidae (Perissodactyla) | issn = 0003-0082 | number = 3143}}</ref>
 
เพราะมีลักษณะคล้ายกัน จึงเชื่อว่ากระซู่เป็นญาติใกล้ชนิดกับแรดขนยาว (''Coelodonta antiquitatis'') แรดขนยาวซึ่งตั้งชื่อตามลักษณะที่มีขนยาว พบครั้งแรกที่ประเทศจีนในยุคไพลสโตซีนตอนปลาย (Pleistocene) กระจายตัวอยู่ในทวีปยูเรเชียจาก[[เกาหลี]]ถึง[[สเปน]] แรดขนยาวอยู่รอดจนถึงปลาย[[ยุคน้ำแข็ง]]เหมือนกับ[[ช้างแมมมอธ]]ขนยาว ทั้งหมดสูญพันธุ์ไปเมื่อ 10,000 ปีก่อน เมื่อแม้การศึกษาเชิงสัณฐานวิทยาจะมีข้อสงสัยในความใกล้ชิด<ref name=Cerdeno/> แต่การวิเคราะห์ทางโมเลกุลเมื่อเร็ว ๆ นี้ยืนยันว่าทั้งสองชนิดเป็นพี่น้องที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน<ref name=Orlando>{{Cite journal | journal = Molecular Phylogenetics and Evolution | volume = 28 | issue = 2 | month = September | year = 2003 | pages = 485–499 | title = Ancient DNA analysis reveals woolly rhino evolutionary relationships | author = Orlando, Ludovic | coauthors = Jennifer A. Leonard, Aurélie Thenot, Vincent Laudet, Claude Guerin, and Catherine Hänni | doi = 10.1016/S1055-7903 (03) 00023-X }}</ref> มี[[ซากดึกดำบรรพ์]]หลายชิ้นได้รับการระบุว่าเป็นสมาชิกของ ''Dicerorhinus'' แต่ก็ไม่มีสปีชีส์ใหม่ในสกุลนี้<ref name=Groves1972/>
 
== ลักษณะ ==
[[ไฟล์:Sumatran Rhino skeleton.jpg|thumb|โครงกระดูกของกระซู่]]
กระซู่ที่โตเต็มที่มีความสูงจรดหัวไหล่ประมาณ 120–145&nbsp;[[เซนติเมตร|ซม.]] ลำตัวยาวประมาณ 250 ซม. มีน้ำหนัก 500–800&nbsp;[[กิโลกรัม|กก.]] ถึงแม้ว่าจะมีกระซู่บางตัวในสวนสัตว์ที่หนักมากกว่า 1000 กก. กระซู่เหมือนกับแรดใน[[แอฟริกา]]ที่มีสองนอ นอใหญ่อยู่บริเวณจมูก โดยทั่วไปมีขนาด 15–25&nbsp;ซม. ยาวที่สุดเท่าที่มีบันทึกไว้คือ 81 ซม.<ref name=LitStud/> นอด้านหลังมีขนาดเล็กกว่ามาก ปกติแล้วจะยาวน้อยกว่า 10 ซม. และบ่อยครั้งที่เป็นแค่ปุ่มขึ้นมา นอมีสีเทาเข้มหรือสีดำ เพศผู้มีนอใหญ่กว่าเพศเมียหรือในเพศเมียบางตัวอาจไม่มีนอใน<ref name="โลกสีเขียว">โลกสีเขียว [http://www.verdantplanet.org/animalfiles/sumatranrhinoceros_(Dicerorhinus_sumatrensis).php กระซู่] แฟ้มสัตว์โลก</ref> และไม่มีลักษณะแบ่งเพศที่เด่นชัดอื่นอีก กระซู่มีอายุโดยประมาณ 30-45 ปีเมื่ออยู่ตามธรรมชาติ มีบันทึกถึง ''D. lasiotis'' เพศเมียในกรงเลี้ยงว่ามีอายุ 32 ปี 8 เดือนก่อนที่จะตายลงในสวนสัตว์ลอนดอนในปี พ.ศ. 2443<ref name=Groves1972/>
 
มีหนังพับย่นขนาดใหญ่สองวงรอบที่ลำตัวบริเวณหลังขาหน้าและก่อนขาหลัง ที่คอมีรอยพับย่นเล็กน้อยรอบคอและรอบตา ริมฝีปากบนแหลมเป็นจะงอย<ref name="โลกสีเขียว" /> หนังหนา 10-16 มม. มีสีน้ำตาลอมเทา<ref name="โลกสีเขียว" /> ริมฝีปากและผิวหนังใต้ท้องบริเวณขามีสีเนื้อ<ref name="กองทุนสัตว์ป่าโลก">หนังสือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน ([[กรุงเทพมหานคร]] [[พ.ศ. 2543]]) โดย [[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] ISBN 974-87081-5-2</ref> กระซู่ตามธรรมชาติไม่พบไขมันใต้หนัง มีขนปกคลุมหนาแน่นถึงเล็กน้อย (ในลูกกระซู่จะปกคลุมหนาแน่น) ปกติจะมีสีน้ำตาลแดง ในธรรมชาติกระซู่จะไม่ค่อยมีขนให้เห็นได้ชัดเจนนักเพราะเกิดจากการลงแช่ปลัก แต่ในกรงเลี้ยงกระซู่จะมีขนงอกออกมา หยาบ คาดว่าเพราะมีการเสียดสีกับพุ่มไม้ในเวลาเดินน้อยมาก กระซู่มีขนยาวบริเวณรอบหูและปกคลุมบริเวณหลังไปถึงปลายหางซึ่งมีผิวหนังบาง กระซู่เหมือนกับแรดทุกชนิด มีสายตาที่แย่ แต่ประสาทหูและประสาทรับกลิ่นดีมาก<ref name="สารคดี" /> กระซู่เคลื่อนที่ได้เร็วและกระฉับกระเฉง มันสามารถไต่เขาสูงชันและว่ายน้ำเก่ง<ref name="van Strien"/><ref name=Groves1972>{{Cite journal | journal = [[Mammalian Species]] | url = http://www.science.smith.edu/departments/Biology/VHAYSSEN/msi/pdf/i0076-3519-021-01-0001.pdf |format=PDF| year = 1972 | author = Groves, Colin P., and Fred Kurt | title = Dicerorhinus sumatrensis | issue = 21 | pages = 1–6 | doi = 10.2307/3503818}}</ref><ref name=LitStud>{{Cite journal | title = Dicerorhinus sumatrensis (Fischer), the Sumatran or two-horned rhinoceros: a study of literature | last = van Strien | first = N.J. | year = 1974 | journal = Mededelingen Landbouwhogeschool Wageningen | volume = 74 | issue = 16 | pages = 1–82}}</ref>
 
== การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย ==
[[ไฟล์:TamanNegara SungeiTembeling.jpg|thumb|[[อุทยานแห่งชาติทามันเนการา]]เป็นที่แห่งเดียวที่ทราบว่ามีประชากรกระซู่อยู่]]
[[ไฟล์:Cloud forest mount kinabalu.jpg|thumb|[[ป่าเมฆ]]ใน[[รัฐซาบะฮ์]], [[บอร์เนียว]]]]
กระซู่อาศัยอยู่ได้ทั้งพื้นราบและที่สูงใน[[ป่าดิบชื้น]] ป่าพรุ และ[[ป่าเมฆ]] ในบริเวณที่เต็มไปด้วยเนินสูงชันใกล้กับแหล่งน้ำโดยเฉพาะหุบลำธารสูงชันที่เต็มไปด้วยพุ่มไม้ กระซู่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนเหนือของ[[พม่า]] ทางตะวันออกของ[[อินเดีย]] และ[[บังคลาเทศ]] ยังมีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่าพบกระซู่ใน[[กัมพูชา]] [[ลาว]] และ [[เวียดนาม]] แต่ประชากรเท่าที่ทราบว่ายังมีเหลือรอดนั้น อยู่ใน[[มาเลเซียตะวันตก|มาเลเซียตะวันตก]] เกาะ[[สุมาตรา]] และ[[รัฐซาบะฮ์]]บนเกาะ[[บอร์เนียว]] นักอนุรักษ์ธรรมชาติบางคนหวังว่าอาจยังมีกระซู่หลงเหลืออยู่ในพม่าถึงแม้ว่ามันอาจไม่น่าเป็นไปได้ ปัญหาความยุ่งเหยิงทางการเมืองของพม่าทำให้การประเมินหรือการศึกษาของความน่าจะเป็นของกระซู่ที่คาดว่าจะหลงเหลืออยู่ไม่สามารถกระทำได้<ref name=Foose>{{Cite book | last = Foose | first = Thomas J. and van Strien, Nico | year = 1997 | title = Asian Rhinos – Status Survey and Conservation Action Plan | publisher = IUCN, Gland, Switzerland, and Cambridge, UK | isbn = 2-8317-0336-0}}</ref>
 
กระซู่มีพิสัยกระจัดกระจายเป็นวงกว้างมากกว่าแรดเอเชียชนิดอื่น ทำให้ยากต่อการอนุรักษ์สปีชีส์นี้ให้ได้ผล<ref name=Foose/> มีเพียงหกแห่งเท่านั้นที่มีกระซู่อยู่กันเป็นสังคมคือ อุทยานแห่งชาติบุกิต บาริสซัน ซลาตัน (Bukit Barisan Selatan) อุทยานแห่งชาติกุนนุง ลอุสเซร์ (Gunung Leuser) อุทยานแห่งชาติกรินจี เซอบลัต (Kerinci Seblat) และ อุทยานแห่งชาติวาย์ กัมบัส (Way Kambas) บนเกาะสุมาตรา [[อุทยานแห่งชาติทามันเนการา]]ในมาเลเซียตะวันตก และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตาบิน (Tabin) ใน[[รัฐซาบะฮ์]] [[ประเทศมาเลเซีย]]บนเกาะบอร์เนียว<ref name=Dinerstein/><ref name="Habitat loss">{{Cite book | author = Dean, Cathy | coauthors = Tom Foose | year = 2005 | chapter = Habitat loss | pages = 96–98 | editor = Fulconis, R. | title = Save the rhinos: EAZA Rhino Campaign 2005/6 | location = London | publisher = [[European Association of Zoos and Aquaria]] }}</ref>
 
ในประเทศไทยเองก็มีรายงานถึงการพบกระซู่ในหลาย ๆ แห่งได้แก่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว [[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] [[อุทยานแห่งชาติเขาสก]] [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง]] [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง|เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร]]<ref name="สารคดี" /> แต่ในปัจจุบันคาดว่ายังมีกระซู่หลงเหลืออยู่แค่ที่[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา]]บริเวณป่าฮาลาบาลา<ref name="สารคดี" /><ref name="กองทุนสัตว์ป่าโลก" />แต่ก็ไม่มีการพบเห็นมานานแล้วทำให้กระซู่จัดเป็นสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติ (EW) แล้วในประเทศไทย<ref>ฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย [http://chm-thai.onep.go.th/RedData/Default.aspx?GroupOf=MAMMAL กระซู่] ข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม</ref>
 
การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ในประชากรของกระซู่สามารถระบุเชื้อสายทางพันธุกรรมที่ต่างกันได้สามสาย<ref name= Morales/> [[ช่องแคบมะละกา|ช่องแคบระหว่างสุมาตราและมาเลเซีย]]ไม่เป็นอุปสรรคต่อกระซู่เหมือนกับภูเขาบารีซัน (Barisan) ดังนั้นกระซู่ในสุมาตราตะวันออกและมาเลเซียตะวันตกจึงมีความใกล้ชิดกันมากกว่ากระซู่ในอีกด้านของภูเขาในสุมาตราตะวันตก กระซู่ในสุมาตราตะวันออกและมาเลเซียแสดงความแตกต่างทางด้านพันธุกรรมเพียงเล็กน้อย ซึ่งหมายถึงประชากรไม่ได้แยกจากกันในสมัย[[ไพลสโตซีน]] อย่างไรก็ตามประชากรกระซู่ทั้งในสุมาตราและมาเลเซียที่มีความใกล้เคียงกันในทางพันธุกรรมมากจนสามารถผสมพันธุ์กันได้อย่างไม่เป็นปัญหา กระซู่ในบอร์เนียวนั้นต่างออกไปเป็นพิเศษว่าเพื่อการอนุรักษ์ความผันแปรของพันธุกรรมควรจะฝืนผสมข้ามกับเชื้อสายประชากรอื่น<ref name= Morales/> เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการศึกษาการอนุรักษ์ความผันแปรของพันธุกรรมโดยศึกษาความหลากหลายของจีนพูล (gene pool) ในประชากรโดยการระบุบไมโครแซททัลไลท์ โลไซ (microsatellite loci) ผลทดสอบในเบื้องต้นพบว่าเมื่อเปรียบเทียบระดับของความหลากหลายในประชากร กระซู่นั้นมีความหลากหลายน้อยกว่าแรดแอฟริกาที่ใกล้สูญพันธุ์ แต่ความหลากหลายทางพันธุกรรมของกระซู่ยังคงต้องมีการศึกษาต่อไป<ref name=Scott04>{{Cite journal | author = Scott, C. | coauthors = T.J. Foose, C. Morales, P. Fernando, D.J. Melnick, P.T. Boag, J.A. Davila, P.J. Van Coeverden de Groot | year = 2004 | title = Optimization of novel polymorphic microsatellites in the endangered Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | journal = Molecular Ecology Notes | volume = 4 | page = 194–196 | pages = 194 | doi = 10.1111/j.1471-8286.2004.00611.x}}</ref>
 
== พฤติกรรม ==
กระซู่เป็นสัตว์สันโดษปกติจะอยู่เพียงลำพังตัวเดียวยกเว้นช่วงเวลาจับคู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน ตัวผู้จะมีอาณาเขตประมาณ 50&nbsp;กม<sup>2</sup>. ขณะที่ตัวเมียมีอาณาเขตประมาณ 10–15&nbsp;กม<sup>2</sup>.<ref name="van Strien"/> อาณาเขตของตัวเมียจะแยกจากกัน ขณะที่ตัวผู้บ่อยครั้งจะมีอาณาเขตเหลื่อมซ้อนกัน ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ากระซู่มีการต่อสู้เพื่อปกป้องอาณาเขต เมื่อต่อสู้หรือป้องกันตัว กระซู่จะไม่ใช้นอพุ่งชนเหมือนแรดชนิดอื่น ๆ แต่จะใช้ริมฝีปากซึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมงับแทน<ref name="กองทุนสัตว์ป่าโลก" /> ทำให้คาดกันว่ากระซู่มีนอเพื่อใช้ดันสิ่งกีดขวางเสียมากกว่า<ref name="สารคดี">สารคดี [http://www.sarakadee.com/feature/1999/11/rhinoceros.htm แกะรอยกระซู่ นับถอยหลังวันสูญพันธุ์ ?] ฉบับที่ 177 ISSN 0857-1538</ref> การบอกอาณาเขตกระทำโดยการขูดผิวดินด้วยเท้า การงอไม้หนุ่มด้วยรูปแบบที่แตกต่าง และการถ่ายมูล ละอองเยี่ยว<ref name="โลกสีเขียว" /> กระซู่ออกหาอาหารเมื่อรุ่งเช้าและหลังเวลาเย็นก่อนค่ำ ระหว่างวันกระซู่จะนอนเกลือกกลิ้งในปลักโคลนเพื่อผ่อนคลายและพักผ่อน ในฤดูฝนกระซู่จะย้ายถิ่นสู่พื้นที่สูง ในฤดูหนาวก็จะย้ายกลับมาที่พื้นราบ<ref name="van Strien"/>
 
[[ไฟล์:Sumatran Rhino 001.jpg|thumb|กระซู่กำลังนอนแช่ปลัก ในสวนสัตว์ซินซินนาติ]]
กระซู่จะใช้เวลาส่วนใหญ่ของวันหมดไปกับการแช่ปลักโคลน เมื่อมันหาปลักโคลนไม่ได้กระซู่จะขุดดินเลนด้วยขาและนอเพื่อสร้างปลัก การแช่ปลักโคลนนี้จะช่วยกระซู่รักษาระดับอุณหภูมิของร่างกายและช่วยป้องกันผิวหนังของมันจากปรสิตภายนอกและแมลงอื่น ๆ จากกระซู่ตัวอย่างที่จับได้ เมื่อกระซู่ไม่ได้นอนแช่ปลักอย่างเพียงพอ ผิวหนังของมันจะแตกและอักเสบอย่างรวดเร็ว แผลเป็นหนอง ตามีปัญหา เล็บอักเสบ ขนร่วง และตายในที่สุด จากการศึกษาพฤติกรรมการนอนแช่ปลักโคลนเป็นเวลา 20 เดือนของกระซู่พบว่ากระซู่จะไปที่ปลักโคลนไม่เกิน 3 ปลักในช่วงระยะเวลาที่ศึกษา หลังจาก 2–12 สัปดาห์ที่ใช้ปลักเดิม กระซู่ก็จะละทิ้งปลักนั้นไป โดยปกติกระซู่จะไปแช่ปลักราว ๆ เที่ยงวัน แช่อยู่ราว ๆ 2–3 ชั่วโมงก่อนออกไปหาอาหาร ถึงแม้ว่าจากการสังเกตกระซู่ในสวนสัตว์จะนอนแช่ปลักน้อยกว่า 45 นาทีต่อวัน แต่จากการศึกษากระซู่ในธรรมชาติจะนอนแช่ปลัก 80–300 นาที (เฉลี่ยที่ 166 นาที) ต่อวัน<ref name=Wallows>{{Cite journal | title = Wallows and Wallow Utilization of the Sumatran Rhinoceros (''Dicerorhinus Sumatrensis'') in a Natural Enclosure in Sungai Dusun Wildlife Reserve, Selangor, Malaysia | year = 2001 | journal = Journal of Wildlife and Parks | volume = 19 | pages = 7–12 | last = Julia Ng | first = S.C. | coauthors = Z. Zainal-Zahari, and Adam Nordin}}</ref>
 
มีช่องทางเพียงเล็กน้อยที่จะศึกษาถึงระบาดวิทยาในกระซู่ มีรายงานว่าแมลงดูดกินเลือดเป็นอาหาร เช่น หมัด ไร เห็บ และแมลงวันตัวเบียนในสกุล ''[[gyrostigma]]'' เป็นสาเหตุการตายของกระซู่ในกรงเลี้ยงในคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref name=LitStud/> เป็นที่รู้กันว่ากระซู่เป็นโรคพยาธิในเลือดได้ง่ายซึ่งมีตัวเหลือบเป็นพาหะนำปรสิตจำพวก [[trypanosome]] มา ในปี ค.ศ. 2004 กระซู่ห้าตัวในศูนย์อนุรักษ์กระซู่ตายภายใน 18 วันหลังจากติดโรค<ref name=Vellayan/> กระซู่ไม่มีศัตรูทางธรรมชาติอื่นนอกจากมนุษย์ [[เสือโคร่ง]]และ[[หมาป่า]]อาจสามารถล่าลูกกระซู่ได้ แต่ลูกกระซู่จะอยู่กับแม่ตลอดเวลา ความถี่ของการถูกล่าจึงไม่อาจเป็นที่ทราบได้ ถึงแม้กระซู่จะมีอาณาเขตซ้อนทับกับ[[ช้างเอเชีย|ช้าง]]และ[[สมเสร็จ]]แต่สัตว์เหล่านี้ไม่ปรากฏการแข่งขันกันทางด้านอาหารและถิ่นอาศัย ช้างและกระซู่จะใช้ด่านร่วมกัน สัตว์เล็ก ๆ อย่างกวาง หมูป่า และหมาป่า ก็จะใช้ด่านที่กระซู่และช้างสร้างขึ้นด้วยเช่นกัน<ref name="van Strien"/><ref name=Borner/>
 
กระซู่มีด่านสองประเภทในอาณาเขต ด่านหลักใช้ท่องเที่ยวระหว่างบริเวณสำคัญในอาณาเขตของกระซู่ เช่น [[โป่ง]] หรือระหว่างบริเวณที่แยกออกจากกันโดยภูมิประเทศที่ไม่เหมาะกับการอยู่อาศัย ด่านทางเดินที่กระซู่เดินจะเรียบโล่ง ถ้าหากมีสิ่งกีดขวางกระซู่จะดันสิ่งกีดขวางให้พ้นทาง<ref name="สารคดี" /> ในพื้นที่หากินกระซู่จะสร้างด่านที่เล็กกว่าซึ่งยังปกคลุมด้วยพุ่มไม้ไปยังบริเวณที่มีอาหารสำหรับกระซู่ นอกจากนี้ยังพบด่านกระซู่ที่ข้ามแม่น้ำกว้างประมาณ 50 ม.ลึกมากกว่า 1.5&nbsp;ม. กระซู่เป็นนักว่ายน้ำที่เก่งสามารถว่ายข้ามแม่น้ำที่ไหลแรงได้<ref name=Groves1972/><ref name=LitStud/> เคยมีผู้พบเห็นกระซู่ว่ายน้ำในทะเลด้วย<ref name="โลกสีเขียว" /> กระซู่จะไม่แช่ปลักที่ใกล้กับแม่น้ำอาจเป็นเพราะมันลงแช่น้ำในแม่น้ำแทนที่จะแช่ปลัก<ref name=Borner>{{cite book |last=Borner |first=Markus |date=1979 |title=A field study of the Sumatran rhinoceros Dicerorhinus sumatrensis Fischer, 1814: Ecology and behaviour conservation situation in Sumatra |publisher=Zurich: Juris Druck & Verlag |isbn=3-260-04600-3}}</ref>
 
=== อาหาร ===
{| class="infobox" style="float:right; clear:right; margin-left:1em; margin-right:0em; font-size:90%; width:150px;"
| [[ไฟล์:MallotesPhilipensis.jpg|100x100px]]
| [[ไฟล์:Garcinia mangostana fruit1.jpg|100x100px]]
|-
| [[ไฟล์:Eugenia1.jpg|100x100px]]
| [[ไฟล์:Ardisia crenata6.jpg|100x100px]]
|-
| colspan = "2" width = "200px"| กระซู่กินต้นไม้หลากหลาย เช่น: (เวียนตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย), สกุลปริก (''Mallotus''), [[มังคุด]], สกุลตาเป็ดตาไก่ (''Ardisia''), และ สกุลหว้า (''Eugenia'') <ref name=Borner/><ref name=Biotropica/>
|}
กระซู่ออกหากินในช่วงก่อนพระอาทิตย์ตกและในตอนเช้า กระซู่เป็นสัตว์เล็มกิน โดยกินอาหารประเภท ไม้หนุ่ม ใบ ผล กิ่ง หน่อ<ref name=Groves1972/> และ[[ผลไม้]]ที่ร่วงหล่นตามพื้นดิน<ref name="กองทุนสัตว์ป่าโลก" /> ปกติกระซู่จะกินอาหารมากถึง 50&nbsp;กก.ต่อวัน<ref name="van Strien"/> จากมูลสัตว์ตัวอย่าง นักวิจัยพบอาหารมากกว่า 100 สปีชีส์ที่กระซู่กินเข้าไป ส่วนใหญ่จะเป็นไม้หนุ่มที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1-6 ซม. กระซู่จะดันไม้หนุ่มด้วยลำตัว เดินไปเหนือไม้หนุ่มโดยไม่เหยียบทับ และลงมือกินใบ พืชหลากหลายชนิดที่กระซู่กินเข้าไปเป็นแค่ส่วนเล็ก ๆ ของอาหารทั้งหมดซึ่งแสดงว่ากระซู่จะเปลี่ยนอาหารและพฤติกรรมการกินต่างกันไปตามแต่บริเวณพื้นที่<ref name=Borner/> พืชส่วนใหญ่ที่กระซู่กินจะเป็นสปีชีส์ใน[[วงศ์เปล้า]] [[วงศ์เข็ม]] และ [[วงศ์โคลงเคลง]] โดยทั่วไปแล้วกระซู่จะกินพืชสกุลหว้า<ref name=Biotropica/>
 
อาหารของกระซู่มี[[ใยอาหาร]]สูงและมี[[โปรตีน]]พอสมควร<ref name=Dierenfeld06>{{Cite journal | author = Dierenfeld, E.S. | coauthors = A. Kilbourn, W. Karesh, E. Bosi, M. Andau, S. Alsisto | year = 2006 | title = Intake, utilization, and composition of browses consumed by the Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis harissoni) in captivity in Sabah, Malaysia | journal = Zoo Biology | volume = 25 | issue = 5 | pages = 417–431 | doi = 10.1002/zoo.20107}}</ref> ดิน[[โป่ง]]เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของกระซู่ โป่งอาจเป็นบริเวณเล็ก ๆ ที่มีน้ำเกลือหรือโคลนภูเขาไฟไหลซึมออกมา ดินโป่งยังมีความสำคัญของวัตถุประสงค์ทางสังคมสำหรับกระซู่เพศผู้จะมาที่โป่งและจับกลิ่นกระซู่เพศเมียที่เป็นสัด อย่างไรก็ตาม กระซู่บางตัวนั้นอาศัยอยู่ในที่ ๆ ไม่มีโป่งหรืออาจเป็นเพราะกระซู่ตัวนั้นไม่สนใจจะใช้ดินโป่งก็เป็นได้ กระซู่อาจได้แร่ธาตุสำคัญที่ต้องการจากการกินพืชที่มีแร่ธาตุนั้นแทน<ref name=Borner/><ref name=Biotropica>{{Cite journal | title = The Mineral Content of Food Plants of the Sumatran Rhino (''Dicerorhinus sumatrensis'') in Danum Valley, Sabah, Malaysia | journal = Biotropica | volume = 3 | issue = 5 | pages = 352–355 | year = 1993 | last = Lee | first = Yook Heng | coauthors = Robert B. Stuebing, and Abdul Hamid Ahmad | doi = 10.2307/2388795 }}</ref>
 
=== การสื่อสาร ===
กระซู่มีการเปล่งเสียงมากที่สุดในบรรดาแรดด้วยกัน<ref name=Acoustical/> จากการสังเกตกระซู่ในสวนสัตว์แสดงถึงว่ากระซู่นั้นเปล่งเสียงเสมอ ๆ และมันรู้จักที่จะทำดังเช่นในป่า<ref name=LitStud/> กระซู่สร้างเสียงที่แตกต่างกันสามเสียง: ''อีป'', ''วาฬ'', และ ''ผิวปาก-เป่า'' เสียงอีป สั้น ยาวประมาณ 1 วินาที เป็นเสียงทั่วไปโดยมาก วาฬที่ตั้งชื่อนี้เพราะคล้ายกับการเปล่งเสียงของ[[วาฬหลังค่อม]] (''ดูเพิ่ม'': [[บทเพลงแห่งวาฬ]]) เป็นการเปล่งเสียงคล้ายกับร้องเพลงและเปล่งเสียงบ่อยเป็นอันดับสอง วาฬจะแตกต่างกันที่ระดับเสียงและช่วงสุดท้าย ในช่วง 4–7 วินาที ผิวปาก-เป่าที่ได้ชื่อนี้เพราะเหมือนเสียงผิวปากยาวสองวินาทีและเป่าลมออกมาทันทีทันใดหลังจากนั้น ผิวปาก-เป่าเป็นเสียงที่ดังที่สุดในบรรดาการเปล่งเสียงทั้งหมด ดังถึงขนาดทำให้แท่งเหล็กที่ใช้ทำกรงสั่นได้ วัตถุประสงค์ในการเปล่งเสียงยังไม่เป็นที่ทราบได้ แต่มีทฤษฎีที่ว่ามันแสดงถึงอันตราย ความพร้อมทางเพศ และอื่น ๆ ที่เหมือนกับสัตว์กีบชนิดอื่นทำ เสียงผิวปาก-เป่าสามารถได้ยินไปได้ไกลแม้กระทั่งในดงไม้หนาทึบในที่ที่กระซู่อาศัยอยู่ การเปล่งเสียงในระดับที่ใกล้เคียงกับ[[ช้าง]] เสียงสามารถไปได้ไกลถึง 9.8&nbsp;กม.และด้วยเหตุนี้เสียงผิวปาก-เป่าอาจไปได้ไกลกว่านั้น<ref name=Acoustical>{{Cite journal | journal = Acoustics Research Letters Online | doi = 10.1121/1.1588271 | year = 2003 | accessdate = 2007-11-13 | title = Songlike vocalizations from the Sumatran Rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | author = von Muggenthaler, Elizabeth | coauthors = Paul Reinhart, Brad Limpany, and R. Barton Craft | volume = 4 | issue = 3 | pages = 83}}</ref> บางครั้งกระซู่จะบิดไม้หนุ่มที่มันไม่กิน พฤติกรรมนี้เชื่อว่าเป็นรูปแบบการสื่อสารที่ใช้แสดงทางเชื่อมในด่าน<ref name=Borner/>
 
{| class="infobox" style="float:right; clear:right; margin-left:1em; margin-right:0em; font-size:90%;"
! style="background:#DCDCDC;" |การเปล่งเสียง<br />ของกระซู่ (ไฟล์ .wav) <ref name=Acoustical/>
|-
! style="background:#000000;" colspan = "2"|
|-
|
* [ftp://ftp.aip.org/epaps/acoust_res_lett/E-ARLOFJ-4-005303/MM.1.wav อีป]
* [ftp://ftp.aip.org/epaps/acoust_res_lett/E-ARLOFJ-4-005303/MM.2.wav วาฬ]
* [ftp://ftp.aip.org/epaps/acoust_res_lett/E-ARLOFJ-4-005303/MM.3.wav ผิวปาก-เป่า]
|}
 
=== การสืบพันธุ์ ===
กระซู่เพศเมียจะโตเต็มที่พร้อมผสมพันธุ์เมื่ออายุ 6-7 ปี ขณะที่เพศผู้จะโตเต็มที่พร้อมผสมพันธุ์เมื่อมีอายุประมาณ 10 ปี กระซู่ตั้งท้องประมาณ 15-16 เดือน โดยทั่วไปกระซู่มีน้ำหนักแรกเกิด 40-60 กก. มีขนแน่นและสีขนออกแดง<ref name="โลกสีเขียว" /> หย่านมเมื่ออายุ 15 เดือนและอาศัยอยู่กับแม่ 2-3 ปีแรก ในธรรมชาติกระซู่มีระยะตั้งท้องแต่ละครั้งห่างกัน 4-5 ปี พฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกนั้นยังไม่มีการศึกษา<ref name="van Strien"/>
 
การศึกษาการสืบพันธุ์ของกระซู่เกิดขึ้นในกรงเลี้ยง เมื่อกระซู่อยู่ในช่วงจับคู่จะเริ่มมีพฤติกรรมเปล่งเสียงร้องมากขึ้น ชูหางขึ้น ถ่ายปัสสาวะ มีการสัมผัสทางร่างกายมากขึ้นโดยทั้งเพศผู้และเมียจะใช้จมูกชนสัมผัสฝ่ายตรงข้ามบริเวณศีรษะและอวัยวะเพศ รูปแบบการขอความรักนี้จะคล้ายกับ[[แรดดำ]] กระซู่หนุ่มเพศผู้มักก้าวร้าวกับเพศเมีย บางครั้งอาจเกิดการบาดเจ็บหรือตายได้ในระหว่างการจับคู่ ในธรรมชาติกระซู่เพศเมียสามารถวิ่งหนีจากเพศผู้ที่ก้าวร้าวได้ในกรณีแบบนี้ แต่ในกรงเลี้ยงมันไม่สามารถทำได้ การที่เพศเมียไม่สามารถวิ่งหนีได้นี้เองอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้อัตราความสำเร็จในการขยายพันธุ์กระซู่ในกรงเลี้ยงต่ำ<ref name=ZZ2005>{{Cite journal | title = Reproductive behaviour of captive Sumatran rhinoceros (''Dicerorhinus sumatrensis'') | last = Zainal Zahari | first = Z. | coauthors = Y. Rosnina, H. Wahid, K.c. Yap, and M.R. Jainudeen | journal = Animal Reproduction Science | volume = 85 | year = 2005 | pages = 327–335 | doi = 10.1016/j.anireprosci.2004.04.041 | pmid = 15581515 | issue = 3-4 }}</ref><ref name=ZZ2002>{{Cite journal | last = Zainal-Zahari | first = Z. | coauthors = Y. Rosnina, H. Wahid, and M. R. Jainudeen | year = 2002 | title = Gross Anatomy and Ultrasonographic Images of the Reproductive System of the Sumatran Rhinoceros (''Dicerorhinus sumatrensis'') | journal = Anatomia, Histologia, Embryologia: Journal of Veterinary Medicine Series C | volume = 31 | issue = 6 | pages = 350–354 | doi = 10.1046/j.1439-0264.2002.00416.x }}</ref><ref name=Roth06/>
 
ในช่วงเป็นสัด เมื่อเพศเมียผสมพันธุ์กับเพศผู้แล้ว ประมาณ 24 ชั่วโมงเพศผู้จะเข้าผสมอีกในช่วง 21-25 วัน กระซู่ในสวนสัตว์ซินซินนาติใช้เวลาในการผสมพันธุ์แต่ละครั้งนาน 30-50 นาที ซึ่งนานพอ ๆ กับแรดชนิดอื่น การสังเกตกระซู่ที่ศูนย์อนุรักษ์กระซู่ในประเทศมาเลเซียทำให้เราสามารถสรุปวงจรการผสมพันธุ์ได้ จากการสังเกตในสวนสัตว์ซินซินนาติ กระซู่มีช่วงการเป็นสัดนานคล้ายกับแรดชนิดอื่น ๆ ช่วงเวลานั้นอาจขึ้นกับพฤติกรรมทางธรรมชาติ<ref name=ZZ2005/> ถึงแม้ว่านักวิจัยจะเข้าใจในภาวะตั้งครรภ์ แต่ก็ล้มเหลวเสียทุกครั้งจากหลาย ๆสาเหตุ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2544 กระซู่ในกรงเลี้ยงจึงสามารถให้กำเนิดลูกได้ จากการศึกษาความล้มเหลวที่สวนสัตว์ซินซินนาติพบว่าการตกไข่ของกระซู่นั้นทำได้โดยการผสมและกระซู่มีระดับโปรเจสเตอโรน (progesterone) ที่แปรปรวน<ref name=Roth>{{Cite journal | title = Ultrasound and endocrine evaluation of the ovarian cycle and early pregnancy in the Sumatran rhinoceros, Dicerorhinus sumatrensis | last = Roth | first = T.L. | coauthors = J.K. O'Brien, M.A. McRae, A.C. Bellem, S.J. Romo, J.L. Kroll and J.L. Brown | journal = Reproduction | year = 2001 | volume = 121 | pages = 139–149 | doi = 10.1530/rep.0.1210139 | pmid = 11226037 | issue = 1 }}</ref> ความสำเร็จในปี พ.ศ. 2544 นั้นเกิดจากบำรุงกระซู่ที่ท้องด้วยโปรกัสติน (progestin) <ref name=Roth03/>
 
== การอนุรักษ์ ==
[[ไฟล์:Jackson rhino.jpg|thumb|กระซู่ ชนิดย่อย D. s. lasiotis เพศผู้ที่สวนสัตว์ลอนดอน ซึ่งเคยพบในอินเดีย พม่า และไทย ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว,<ref>{{cite book|author=Rookmaaker |title=The rhinoceros in captivity: a list of 2439 rhinoceroses kept from Roman times to 1994 |url=http://books.google.com/books?id=vDijgNs_7Q0C&pg=PA125 |year=1998 |publisher=Kugler Publications |isbn=978-90-5103-134-8 |pages=125–|author2=L. C.}}</ref>ภาพนี้ถ่ายราวปีพ.ศ. 2447]]
[[ไฟล์:Begum, London Zoo.jpg|thumb|right|กระซู่ ชนิดย่อย D. s. lasiotis เพศเมีย ชื่อ Begum ในสวนสัตว์ลอนดอน]]
กระซู่มีการกระจายพันธุ์เกือบตลอดทั้ง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] แต่ในปัจจุบันกลับเหลือกระซู่อยู่เพียง 300 ตัวเท่านั้น ถึงแม้ว่ากระซู่นั้นจะไม่หายากเท่าแรดชวา ประชากรของมันก็อยู่กระจัดกระจายเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ไม่เหมือนกับประชากรของแรดชวาที่อาศัยอยู่ร่วมกันในคาบสมุทร[[อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลอน|อูจุงกูลอน]]ในชวา ขณะที่จำนวนแรดชวาในอูจุงกูลอนเกือบจะคงที่ เชื่อกันว่าจำนวนกระซู่กลับกำลังลดลง IUCN มีการจัด[[สถานะการอนุรักษ์]]ของกระซู่เป็นถูกคุกคามจนอยู่ในขั้นวิกฤติเพราะจากการล่าอย่างผิดกฎหมายและมีการกระจายพันธุ์ในถิ่นอาศัยที่เป็น[[ป่าดิบชื้น]]ซึ่งถิ่นอาศัยที่เหลืออยู่เป็นพื้นที่เต็มไปด้วยภูเขาที่ยากจะเข้าถึงใน[[ประเทศอินโดนีเซีย]]<ref name=Rabinowitz>{{Cite journal | author = Rabinowitz, Alan | year = 1995 | title = Helping a Species Go Extinct: The Sumatran Rhino in Borneo | journal = Conservation Biology | volume = 9 | issue = 3 | pages = 482–488 | doi = 10.1046/j.1523-1739.1995.09030482.x }}</ref><ref name=Strien2001>{{Cite journal | journal = Proceedings of the International Elephant
and Rhino Research Symposium, Vienna, June 7–11, 2001 | publisher = Scientific Progress Reports | year = 2001 | title = Conservation Programs for Sumatran and Javan Rhino in Indonesia and Malaysia | last = van Strien | first = Nico J. }}</ref> นอกจากนี้แล้ว [[ไซเตส]]ได้จัดกระซู่อยู่ในบัญชีอนุรักษ์หมายเลข 1 และกระซู่เป็น[[สัตว์ป่าสงวน]]ของไทยตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2535]]
 
=== กระซู่ในกรงเลี้ยง ===
[[ไฟล์:Sumatran Rhino.jpg|thumb|เอมีและฮาราปัน กระซู่สายพันธุ์ย่อย D.s. sumatrensis ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ]]
[[ไฟล์:0515rhino01.jpg|thumbnail|Puntung กระซู่ชนิดย่อย D. s. harrissoni กำลังแช่ปลักในสถานเพาะเลี้ยง กระซู่ตัวนี้จับได้ในรัฐซาบะฮ์ ในปีพ.ศ. 2554 เพื่อเข้าโครงการอนุรักษ์]]
แม้จะหายาก แต่ก็มีการจัดแสดงกระซู่อยู่ในบางสวนสัตว์เกือบศตวรรษครึ่ง สวนสัตว์[[ลอนดอน]]ได้รับกระซู่ 2 ตัวในปี พ.ศ. 2415 หนึ่งในนั้นเป็นเพศเมียชื่อ บีกัม (''Begum'') จับได้ที่จิตตะกอง (Chittagong) ในปี พ.ศ. 2411 และมีชีวิตรอดได้ถึงปี พ.ศ. 2443 เป็นกระซู่ที่มีอายุมากที่สุดในกรงเลี้ยงที่มีบันทึกไว้ ในเวลาที่ได้รับกระซู่มานั้น ฟิลลิป สเคลเตอร์ (Philip Sclater) เลขานุการสมาคมสัตวศาสตร์แห่งลอนดอนอ้างว่ากระซู่ตัวแรกในสวนสัตว์เป็นกระซู่ที่อยู่ในสวนสัตว์[[ฮัมบวร์ค]]ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 ก่อนที่กระซู่ชนิดย่อย ''Dicerorhinus sumatrensis lasiotis'' จะสูญพันธุ์ มีกระซู่ชนิดนี้อย่างน้อย 7 ตัวในสวนสัตว์และโรงละครสัตว์<ref name=LitStud/> กระซู่มีสุขภาพและการเจริญเติบโตไม่ดีนักเมื่ออยู่นอกถิ่นอาศัยตามธรรมชาติ กระซู่ในสวนสัตว์[[โกลกาตา|กัลกัตตา]]ได้ให้กำเนิดลูกในปี พ.ศ. 2432 แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ไม่มีลูกกระซู่เกิดในสวนสัตว์อีกเลย ในปี พ.ศ. 2515 กระซู่ตัวสุดท้ายในกรงเลี้ยงได้ตายลงที่สวนสัตว์[[โคเปนเฮเกน]]<ref name=LitStud/> ประเทศไทยเองก็เคยนำกระซู่เพศเมียมาจัดแสดงที่สวนสัตว์ดุสิต โดยได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย มีชื่อว่า ''ลินจง'' แต่ตายไปในปี พ.ศ. 2529<ref>The Star, 1986. "Rare rhino dies in Bangkok." Saturday, November 22 nd, 1986. Kuala Lumpur</ref><ref>L. C. Rookmaaker,Heinz-Georg Klös, "The rhinoceros in captivity", pp.135</ref>
 
ถึงแม้ว่าการขยายพันธุ์กระซู่ในกรงเลี้ยงจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่ในตอนต้นของคริสต์ทศวรรษ 1980 องค์กรได้เริ่มโปรแกรมขยายพันธุ์กระซู่อีกครั้ง ในระหว่างปี พ.ศ. 2527-2539 โปรแกรมการอนุรักษ์ ''[[ex situ]]'' ได้จับกระซู่จำนวน 40 ตัวจากถิ่นอาศัยและส่งไปตามสวนสัตว์และเขตสงวนทั่วโลก ขณะที่ความหวังในตอนเริ่มโปรแกรมมีสูงมาก และได้มีการศึกษาถึงพฤติกรรมกระซู่ในกรงเลี้ยงมากมาย แต่เมื่อถึงตอนปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ไม่มีกระซู่ในโปรแกรมให้กำเนิดลูกแม้แต่ตัวเดียว ในปี พ.ศ. 2540 กลุ่มเชี่ยวชาญพิเศษในแรดเอเชียของ [[IUCN]] ได้เข้ามารับรอง ประกาศถึงความล้มเหลวว่า แม้อัตราการตายเป็นที่ยอมรับได้ แต่ไม่มีลูกกระซู่เกิดขึ้นมาเลย และมีกระซู่ตายถึง 20 ตัว<ref name=Dinerstein/><ref name=Foose/> ในปี พ.ศ. 2547 มีการระบาดของโรคพยาธิในเลือดทำให้กระซู่ในศูนย์อนุรักษ์ที่อยู่ในมาเลเซียตะวันตกตายทั้งหมด ทำให้จำนวนกระซู่ในกรงเลี้ยงลดลงเหลือ 8 ตัว<ref name=Vellayan>{{Cite journal | author = Vellayan, S. | coauthors = Aidi Mohamad, R.W. Radcliffe; L.J. Lowenstine, J. Epstein, S.A. Reid, D.E. Paglia, R.M. Radcliffe, T.L. Roth, T.J. Foose, M. Khan, V. Jayam, S. Reza, and M. Abraham | year = 2004 | title = Trypanosomiasis (surra) in the captive Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis sumatrensis) in Peninsular Malaysia | journal = Proceedings of the International Conference of the Association of Institutions for Tropical Veterinary Medicine | volume = 11 | pages = 187–189 }}</ref><ref name=Strien2001/>
 
มีกระซู่ 7 ตัวที่ถูกส่งไป[[สหรัฐอเมริกา]] (ที่เหลืออยู่ที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) แต่เมื่อถึงปี พ.ศ. 2540 จำนวนกระซู่ก็เหลือเพียงแค่ 3 ตัวคือ เพศเมียที่สวนสัตว์[[ลอสแอนเจลิส]] เพศผู้ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ และเพศเมียที่สวนสัตว์[[เดอะบร็องซ์|บร็องซ์]] ท้ายที่สุดก็ได้ย้ายกระซู่ทั้งสามมาอยู่ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ หลังความพยายามที่ล้มเหลวเป็นปี เพศเมียจากลอสแอนเจลิส ''เอมี (Emi)'' ก็ตั้งท้องถึงหกครั้งกับเพศผู้ ''อีปุห์ (Ipuh)'' ห้าครั้งแรกจบลงด้วยความล้มเหลว แต่นักวิจัยได้เรียนรู้จากความล้มเหลวนั้น และด้วยการช่วยเหลือด้วยการบำบัดด้วยฮอร์โมนพิเศษ เอมีจึงให้กำเนิดลูกเพศผู้ที่ชื่อ ''อันดาลัส (Andalas)'' (คำในวรรณคดี[[ภาษาอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]ที่ใช้เรียก "[[สุมาตรา]]") ในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2544<ref name=CincZoo1>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/Legacy/legacy.html | title = Andalas - A Living Legacy | work = [[Cincinnati Zoo]] | accessdate = 2007-11-04}}</ref> การให้กำเนิดอันดาลัสนับเป็นความสำเร็จครั้งแรกใน 112 ปี ที่กระซู่สามารถให้กำเนิดลูกในกรงเลี้ยงได้ ลูกกระซู่เพศเมีย ชื่อ ''ซูจี (Suci)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "บริสุทธิ์") ก็ถือกำเนิดเป็นตัวถัดมาในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2547<ref name=CincZoo2>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/announcement.html | title = It's a Girl! Cincinnati Zoo's Sumatran Rhino Makes History with Second Calf | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref> ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2550 เอมีได้ให้กำเนิดลูกเป็นครั้งที่สาม เป็นเพศผู้ตัวที่สอง ชื่อ ''ฮาราปัน (Harapan)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "ความหวัง") หรือ แฮร์รี่<ref name=Roth03>{{Cite journal | title = Breeding the Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) in captivity: behavioral challenges, hormonal solutions | author = Roth, T.L. | year = 2003 | journal = Hormones and Behavior | volume = 44 | pages = 31 }}</ref><ref name=CincZoo3>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/VisitorGuide/zoonews/RhinoCalf/itsaboy.html | title = Meet "Harry" the Sumatran Rhino! | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]] }}</ref> ในปี พ.ศ. 2550 อันดาลัสก็ได้ย้ายจากสวนสัตว์ลอสแอนเจลิสกลับสู่[[สุมาตรา]]เพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมขยายพันธุ์กระซู่กับเพศเมียที่มีสุขภาพดี<ref name=Roth06>{{Cite journal | last = Roth | first = T.L. | coauthors = R.W. Radcliffem, and N.J. van Strien | year = 2006 | title = New hope for Sumatran rhino conservation (abridged from Communique) | journal = International Zoo News | volume = 53 | issue = 6 | pages = 352–353}}</ref><ref name=Watson>{{Cite news | url = http://www.latimes.com/news/printedition/front/la-fg-rhino26apr26,1,6457407,full.story?ctrack=1&cset=true | title = A Sumatran rhino's last chance for love | author = Watson, Paul | work = [[The Los Angeles Times]] | date = April 26, 2007 | accessdate = 2007-11-04 }}</ref> เอมีได้ตายลงเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2552 <ref name="cincinnatizoo1">{{Cite web | url = http://cincinnatizoo.org/conservation/crew/rhino-signature-project/sumatran-rhino/ | title = Emi, In Loving Memory | accessdate = 2016-02-16 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref> Harapan กระซู่ตัวสุดท้ายในสวนสัตว์ Cincinnati ได้กลับสู่อินโดนีเซีย เมื่อปี 2558 เพื่อเข้าสู่โปรแกรมการขยายพันธุ์ ปัจจุบันกระซู่ในที่เลี้ยงทั้งหมดอยู่ในอินโดนีเซีย และมาเลเซีย<ref name="cincinnatizoo2">{{Cite web | url = http://cincinnatizoo.org/blog/2015/08/25/last-sumatran-rhino-in-western-hemisphere-is-leaving-the-cincinnati-zoo/ | title = LAST SUMATRAN RHINO IN WESTERN HEMISPHERE IS LEAVING THE CINCINNATI ZOO | accessdate = 2016-02-16 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref>
 
ทั้งที่การเพาะพันธุ์กระซู่ที่สวนสัตว์ซินซินนาติประสบผลสำเร็จ โปรแกรมการขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงก็ยังคงเป็นที่ขัดแย้งกันอยู่ ผู้เห็นด้วยให้เหตุผลว่าสวนสัตว์ได้ช่วยเหลือถึงความพยายามที่จะอนุรักษ์ด้วยการศึกษาพฤติกรรมการสืบพันธุ์ เพิ่มความตระหนักและการศึกษาในกระซู่ให้แก่สาธารณชน และช่วยเพิ่มแหล่งกองทุนสำหรับความพยายามที่จะอนุรักษ์กระซู่ในสุมาตรา ผู้คัดค้านกลับแย้งว่า มีการสูญเสียมากเกินไป โปรแกรมแพงเกินไป มีการเคลื่อนย้ายกระซู่จากถิ่นอาศัย แม้เพียงชั่วคราว มีการปรับเปลี่ยนบทบาททางนิเวศวิทยา และประชากรที่จับมาเข้าโปรแกรมไม่สมดุลกับอัตราการพบกระซู่ในถิ่นอาศัยทางธรรมชาติที่ได้รับการปกป้องเป็นอย่างดี<ref name=Dinerstein/><ref name=Roth06/>
 
== กระซู่ในเชิงวัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:Rauhohr-Nashorn-drawing.jpg|thumb|ภาพวาดกระซู่ในปี ค.ศ. 1927]]
นอกจากกระซู่สองสามตัวในสวนสัตว์และภาพในหนังสือแล้ว กระซู่เป็นที่รู้จักน้อยมาก มักถูกข่มให้ด้อยลงด้วยแรดอินเดีย [[แรดดำ]] และ[[แรดขาว]] อย่างไรก็ตาม เมื่อเร็ว ๆ นี้ คลิปวิดีโอของกระซู่ในถิ่นอาศัยตามธรรมชาติและในศูนย์เพาะพันธุ์ได้ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์สารคดีธรรมชาติหลายเรื่อง ภาพยนตร์ที่แพร่หลายคือภาพยนตร์สารคดีภูมิศาสตร์เอเชีย ''The Littlest Rhino (แรดน้อย)'' Natural History New Zealand (ธรรมชาติประวัติศาสตร์นิวซีแลนด์) ได้ฉายภาพยนตร์เกี่ยวกับกระซู่ที่ถ่ายโดยตากล้องอิสระเชื้อสายอินโดนีเซีย อาไลน์ โจมโปส์ต (Alain Compost) ในสารคดีปี พ.ศ. 2544 ''The Forgotten Rhino (แรดที่ถูกลืม)'' ซึ่งมีเนื้อเรื่องหลักเป็น[[แรดชวา]]และ[[แรดอินเดีย]]<ref name=AG>{{Cite web | title = The Littlest Rhino | work = Asia Geographic | url = http://www.asiageographic.com/html/lilrhino.htm | accessdate = 2007-12-06}}</ref><ref>{{Cite web | title = The Forgotten Rhino |
url = http://www.nhnz.tv/cat/forgottenrhino.html | work = [[NHNZ]] | accessdate = 2007-12-06}}</ref>
 
แม้ว่าจะมีรายงานถึงมูล และร่องรอย แต่รูปของกระซู่ใบแรกที่ถ่ายได้และแพร่หลายอย่างกว้างขวางโดยนักอนุรักษ์รุ่นใหม่ได้มาจากกับดักกล้องที่ถ่ายภาพกระซู่โตเต็มที่ แข็งแรง ในป่าของรัฐซาบะฮ์ใน[[มาเลเซียตะวันออก]]ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2549<ref name=NST7-2>{{Cite news | work = [[New Straits Times]] (Malaysia) | date = July 2, 2006 | title = Rhinos alive and well in the final frontier }}</ref> ในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2550 กล้องได้จับคลิปวิดีโอของแรดบอร์เนียวป่าได้เป็นครั้งแรก คลิปวิดีโอในตอนกลางคืนนั้นได้แสดงถึงว่ากระซู่กินอาหาร เดินฝ่าพุ่มไม้ และเข้ามาดมกล้องด้วยความสงสัย [[องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล]]ได้ใช้คลิปวิดีโอนี้มาพยายามที่จะโน้มน้าวให้รัฐบาลท้องถิ่นเพื่อเปิดพื้นที่ให้เป็นเขตอนุรักษ์กระซู่<ref name=AFP4-2>{{Cite news | work = [[Agence France Presse]] | date = April 25, 2007 | title = Rhino on camera was rare sub-species: wildlife group }}</ref><ref>Video of the Sumatran Rhinoceros is available on the [http://www.panda.org/about_wwf/what_we_do/species/about_species/species_factsheets/rhinoceros/asian_rhinos/index.cfm World Wildlife Fund web site].</ref>
 
ได้มีการรวบรวมนิทานพื้นบ้านเกี่ยวกับกระซู่โดยนักธรรมชาติวิทยาในสมัยล่าอาณานิคมและนายพรานตอนกลางของคริสต์ทศวรรษ 1800 ถึงตอนต้นของ[[คริสต์ทศวรรษ 1990]] ในพม่ามีความเชื่อกันอย่างแพร่หลายว่ากระซู่กันไฟ ตำนานได้ระบุบว่ากระซู่จะตามควันมาถึงกองไฟ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแคมป์ไฟ และจะโจมตีแคมป์ และมีชาวพม่าที่เชื่อว่าเวลาในการล่ากระซู่ที่ดีที่สุดคือเดือนกรกฎาคมเพราะกระซู่จะมาชุมนุมกันใต้ดวงจันทร์เต็มดวง ในมาลายามีคำบอกเล่าว่านอกระซู่กลวงเป็นโพรง สามารถใช้เป็นท่อสำหรับหายใจและฉีดน้ำ ในมาลายาและเกาะสุมาตรามีความเชื่อว่าแรดผลัดนอทุกปีและฝังมันไว้ใต้พื้นดิน ในเกาะบอร์เนียว มีคำบอกเล่าว่ากระซู่มีพฤติกรรมการกินเนื้อที่แปลก หลังจากขับถ่ายในลำธารแล้ว มันก็หันกินปลาที่มึนงงจากมูลของมัน<ref name=LitStud/>
 
ใน[[ประวัติศาสตร์ไทย]] มีข้อความพรรณนาถึงการละเล่นชนแรดใน[[สมัยอยุธยา]] ปรากฏในวรรณคดี[[สมุทรโฆษคำฉันท์]] รวมถึงการบันทึกของชาวตะวันตก ในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] เป็นการเล่นเพื่อความสนุกสนานหรือเป็น[[มหรสพ]]อย่างหนึ่งของผู้คนในสมัยนั้น เช่นเดียวกับเสือสู้กับช้าง โดยผู้ที่เลี้ยงแรดเรียกกันว่า [[ช้างในประเทศไทย|ควาญ]] เช่นเดียวกับช้าง การต่อสู้เป็นไปอย่างดุเดือดถึงขั้นตัวที่แพ้เป็นฝ่ายหงายท้องล้มตึง เชื่อกันว่าแรดที่ใช้ชนกันนั้นคือ กระซู่ และหนึ่งในนั้นเชื่อกันว่าเป็นกระซู่ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชด้วย <ref>หน้า 3, ''ชนแรดมหรพสพสยาม''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21811: วันจันทร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 แรม 4 ค่ำ เดือน 11 ปีระกา</ref>
 
=== การเผยแพร่ในสื่อ ===
[[ไฟล์:Sumatran Rhinoceros thai coin.jpg|thumb|เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่า]]
* ในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้[[เหรียญกษาปณ์]]ที่ระลึกการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่า ซึ่งหนึ่งในนั้นด้านหลังเหรียญเป็นรูปกระซู่ ยืนหันหน้าไปทางขวา ตัวเหรียญมีราคา 50 บาท <ref>กรมธนารักษ์ [http://ecatalog.treasury.go.th/coininfo/detail.php?id=886&gid=176 เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่า] ข้อมูลเหรียญและผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ</ref>
* เพราะชื่อเสียงในหลาย ๆ ด้านของกระซู่ จึงได้มีการพิมพ์[[แสตมป์]]เป็นรูปกระซู่เป็นจำนวนหลาย ๆ ครั้ง เช่น แสตมป์ราคา 25 [[เหรียญ 1 เซนต์ (ยูโร)|เซนต์]]ของ[[บอร์เนียวเหนือ]] แสตมป์ราคา 75 [[ริงกิต|เซน]] พ.ศ. 2503 และ แสตมป์ชุด[[องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล]]ของประเทศอินโดนีเซียที่พิมพ์ในปี พ.ศ. 2539 เป็นต้น
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[แรดอินเดีย]]
* [[แรดชวา]]
 
== อ้างอิง ==
<div style="height:250px;overflow:auto;">
{{รายการอ้างอิง}}
</div>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Dicerorhinus sumatrensis| ''Dicerorhinus sumatrensis''}}
* [http://www.youtube.com/watch?v=kFm8xWmIyF0 Sumatran Rhino caught first time on Camera in Borneo] • [http://www.youtube.com/watch?v=W7nuiaw1eVQ&NR=1 Newborn Sumatran Rhino] • [http://www.youtube.com/watch?v=kZTu2iccLuc&feature=related Sumatran Rhinos and baby in Cincinnati zoo] YouTube
* [http://www.rhinoresourcecenter.com/species/sumatran-rhino/ Sumatran Rhino Info] & [http://www.rhinoresourcecenter.com/index.php?s=1&act=imgs&CODE=tax_images&taxon=8 Sumatran Rhino Pictures] on the [http://www.rhinoresourcecenter.com Rhino Resource Center]
* [http://www.arkive.org/species/GES/mammals/Dicerorhinus_sumatrensis/ Sumatran Rhino] at [[Arkive]].
* [http://www.rhinos-irf.org/sumatran/ Information on the Sumatran Rhino] from the [http://www.rhinos-irf.org/ International Rhino Foundation]
* [http://www.asianrhino.nl/English/Home Asian Rhino Foundation]
* [http://www.rhinoandforestfund.org Rhino and Forest Fund]
 
{{สัตว์ป่าสงวนของไทย}}
{{สัตว์กีบคี่}}
 
[[หมวดหมู่:แรด|กระซู่]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าสงวน|กระซู่]]
[[หมวดหมู่:มหสัตว์ของทวีปยูเรเซีย]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"