ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pichaya n (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pichaya n (คุย | ส่วนร่วม)
ทำไมตามลบ ก็เกาะนี้มันถูกเอามาใช้เป็นคุกโดยคณะราษฎร เป็เกาะที่คณะราษฎรขังนักโทษทางการเมือง มันไม่เกี่ยวกับคณะราษฎรยังไง
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 199:
 
== ปรปักษ์ ==
{{ดูเพิ่มที่|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว#การต่อต้านคณะราษฎร}}ช่วงระหว่างคณะราษฎรได้ปกครองประเทศนั้น ได้จัดการเกาะตะรุเตา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย เพื่อเป็นเกาะขังนักโทษทั้งจากการปราบกบฏ และนักโทษทางการเมือง รวมกว่า 4,000 คน นักโทษเหล่านี้ถูกทารุณกรรมหลายรูปแบบ ทั้งการเฆี่ยนตี สมอบก การใช้แรงงานอย่างทารุณกรรม รวมถึงการฆาตกรรม เช่นการยิงทิ้ง ทั้งนี้ยังเจอกับนักการเมืองคณะราษฎร ที่ฉ้อราชบังหลวง กักตุนยารักษาโรค อาหาร เป็นเหตุให้ต้องมีความอดอยาก เจ็บป่วยเหมือนขังลืม นักโทษที่หลงเหลือได้รับการอภัยโทษ ตาม พ.ร.บ.นิรโทษกรรมแก่บรรดานักการเมือง เมื่อ 1 สิงหาคม 2487 โดย นายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อคณะราษฎร สิ้นสุดอำนาจลง<ref>https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1614418</ref>{{quote box|"วงศ์จักรีจักแก้แค้นคณะก่อการฯ ตัดหัวเอาเลือดล้างตีนวงศ์จักรี"<ref name="ณัฐพล">{{cite book |last1=ใจจริง |first1=ณัฐพล |title=ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ. 2475-2500) |date=2556 |publisher=ฟ้าเดียวกัน |isbn=9786167667188 |edition=1}}</ref>{{rp|20}}|—[[พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร]]|width=25%}}
{{ดูเพิ่มที่|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว#การต่อต้านคณะราษฎร}}
{{quote box|"วงศ์จักรีจักแก้แค้นคณะก่อการฯ ตัดหัวเอาเลือดล้างตีนวงศ์จักรี"<ref name="ณัฐพล">{{cite book |last1=ใจจริง |first1=ณัฐพล |title=ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ. 2475-2500) |date=2556 |publisher=ฟ้าเดียวกัน |isbn=9786167667188 |edition=1}}</ref>{{rp|20}}|—[[พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร]]|width=25%}}
 
พระมหากษัตริย์และกลุ่ม[[กษัตริย์นิยม]]สมคบกันบ่อนทำลายขัดขวางคณะราษฎรเกิดเป็น "คณะชาติ" เริ่มจากการต่อรองรัฐธรรมนูญ จนมีการเพิ่มพระราชอำนาจและชะลอการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไป 10 ปี<ref name="ณัฐพล"/>{{rp|17–8}} นำไปสู่[[รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476|กฎหมายปิดสภาฯ และงดใช้รัฐธรรมนูญ]]เพื่อขัดขวางกระบวนการพิจารณา[[เค้าโครงการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2475]] (สมุดปกเหลือง) ของ[[ปรีดี พนมยงค์|หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] และตั้ง[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3|คณะรัฐมนตรีชุดใหม่]]<ref name="ณัฐพล"/>{{rp|19}} พระบาทสมเด็จพระปกกเล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงตำหนินายกรัฐมนตรีว่าจัดการกับคณะราษฎรได้ไม่เด็ดขาดพอ และลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการประหารชีวิต สมาชิกคณะราษฎรไว้ล่วงหน้า<ref name="ณัฐพล" />{{rp|21}} ทรงตั้งหน่วยสืบราชการลับส่วนพระองค์เพื่อถวายรายงานความเคลื่อนไหวของกลุ่มการเมืองต่าง ๆ<ref name="ณัฐพล" />{{rp|23–4}} เกิดเป็นเครือข่ายต่อต้านการปฏิวัติใต้ดินระหว่างกลุ่มกษัตริย์นิยม พรรคการเมือง และหนังสือพิมพ์ที่มี[[วังไกลกังวล]]เป็นศูนย์กลาง<ref name="ณัฐพล" />{{rp|27}} ในการเตรียมการ[[กบฏบวรเดช]]นั้นมีเช็คสั่งจ่ายเงินของพระคลังข้างที่แก่[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]จำนวน 200,000 บาท<ref name="ณัฐพล" />{{rp|27}} นอกจากนี้ สายลับส่วนพระองค์ยังลงมือลอบสังหารผู้นำคณะราษฎรหลายครั้งระหว่างปี 2476–78 รวมทั้งมีคำสั่งฆ่าตัดตอนมือปืนชุดหนึ่งเพื่อไม่ให้สืบสาวมาถึงสายลับด้วย<ref name="ณัฐพล" />{{rp|32–3}} หลังจากทรงเพลี่ยงพล้ำหลายครั้งแก่คณะราษฎร ทรงเปลี่ยนกลับมาแสดงท่าทีสนับสนุนประชาธิปไตยเพื่อให้เข้าใจว่ากฎหมายต่าง ๆ ที่ไม่เป็นประชาธิปไตยนั้นไม่ใช่พระราชประสงค์<ref name="ณัฐพล" />{{rp|35–6}}