ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎บรรพชาและอุปสมบท: แก้ไขการสะกดคำ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17:
| ตำแหน่ง = เจ้าอาวาส[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]
}}
'''สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ''' (นามเดิม: '''โต เป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระเป็นพระ เป็นพระ''' <div style="overflow:scroll;height:300px;">
'''สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ''' (นามเดิม: '''โต''') หรือนามที่นิยมเรียก '''"สมเด็จโต"''' '''"หลวงปู่โต"''' หรือ '''"สมเด็จวัดระฆัง"''' เป็นพระภิกษุ[[มหานิกาย]] เป็นพระมหาเถระรูปสำคัญที่ได้รับความนิยมนับถืออย่างมากในประเทศไทย ท่านเคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]ในสมัยรัชกาลที่ 4-5
 
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) นับเป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้มีปฏิปทาจริยาวัตรน่าเลื่อมใส เป็นที่เคารพนับถือทั่วไปมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ตั้งแต่พระมหากษัตริย์จนถึงสามัญชน<ref>พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 66-67</ref> และนอกจากจริยาวัตรด้านความสมถะอันโดดเด่นของท่านแล้ว ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชชาคาถาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุมงคล "พระสมเด็จ" ที่ท่านได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ได้ถูกจัดเข้าในพระเครื่องเบญจภาคี หรือสุดยอดของพระเครื่องวัตถุมงคล 1 ใน 5 ของประเทศไทย<ref>คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2554). พระเครื่องเบญจภาคี. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://angsila.cs.buu.ac.th/~it471452/phrathai/page2-5.html</ref> และมีราคาซื้อขายในปัจจุบันต่อองค์เป็นราคานับล้านบาท<ref>ข่าวพระเครื่องคมชัดลึก. (2554). สุดยอดการเช่าพระแห่งปี ๕๒. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.komchadluek.net/detail/20091229/42948/สุดยอดการเช่าพระแห่งปี๕๒.html </ref> ด้วยปฏิปทาจริยาวัตรและคุณวิเศษอัศจรรย์ของท่าน ทำให้พุทธศาสนิกชนชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นอมตะเถราจารย์รูปหนึ่งของเมืองไทย และมีผู้นับถือจำนวนมากในปัจจุบัน
 
== ประวัติ ==
=== ชาติภูมิ ===
[[ไฟล์:วัดไก่จ้น รูปหล่อหลวงพ่อโต.jpg|thumb|left|รูปหล่อของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ประดิษฐานที่[[วัดไก่จ้น]] [[อำเภอท่าเรือ]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] กล่าวกันว่าท่านเกิดในเรือของมารดาซึ่งจอดเทียบท่าอยู่หน้าวัดแห่งนี้]]
สมเด็จพระพุฒาจารย์ เกิดในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] (หลังสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ได้แล้ว 7 ปี<ref>(ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช 1129-1130. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.). หน้าที่ 351.</ref>) เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 5 ขึ้น 12 ค่ำ ปีวอก จุลศักราช 1150 เวลาพระบิณฑบาต (ตรงกับวันที่ [[17 เมษายน]] [[พ.ศ. 2331]]) <ref>พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. รองปก</ref> ณ บ้านไก่จ้น (บ้านท่าหลวง) [[อำเภอท่าเรือ]]<ref>จากคำบอกเล่าของชาวบ้าน ต.ท่าหลวง กล่าวว่า สมเด็จโตเกิดในเรือซึ่งขณะนั้นลอยลำอยู่หน้า[[วัดไก่จ้น]]</ref> [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]<ref>สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์” :2466. ไม่ทราบสำนักพิมพ์​สมัยนั้นท่านโตได้แอบชอบท่านผู้หญิงกุลศรีวิมลท่านเป็นตระกุลระดับสูงองค์ที่​2</ref>
 
มารดาบิดาของท่านเป็นใครไม่ทราบแน่ชัด มีผู้กล่าวประวัติของท่านในส่วนนี้แตกต่างกันไปหลายฉบับ เช่น ฉบับของพระยาทิพโกษา กล่าวว่า มารดาของท่านชื่อนางงุด บุตรของนายผลกับนางลา ชาวนาเมืองกำแพงเพชร<ref>พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 9-13</ref> หรือฉบับของพระครูกัลยาณานุกูล (เฮง อิฏฐาจาโร) กล่าวว่า มารดาของท่านชื่อเกตุ คนท่าอิฐ อำเภอบางโพ{{ref label|reference_name_ก|ก|ก}}<ref>ผู้จัดการออนไลน์. (2545). สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี). [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://forum.uamulet.com/view_topic.aspx?bid=2&qid=517</ref><ref>เฮง อิฏฐาจาโร, พระมหา. (2492). '''ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) '''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์.</ref><ref>วัดระฆังโฆสิตาราม. (2541). ของดีวัดระฆัง. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท.. หน้า 214. ISBN 974-89521-3-4</ref> อย่างไรก็ดีมารดาของท่านนั้นเป็นชาวเมืองเหนือ (คำเรียกในสมัยอยุธยา){{ref label|reference_name_ข|ข|ข}} เพราะทุกแหล่งอ้างอิงกล่าวตรงกันว่ามารดาของท่านเป็นชาวเมืองเหนือแต่ได้ลงมาทำมาหากินแถบภาคกลางในช่วงหลัง{{ref label|reference_name_ค|ค|ค}}
 
สำหรับบิดาของท่านนั้น ฉบับของพระยาทิพโกษา กล่าวว่าท่านเป็นโอรสนอกเศวตฉัตรของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ครั้งทรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าพระยาจักรี ส่วนฉบับของพระครูกัลยาณานุกูล และฉบับของตรียัมปวายกล่าวว่าท่านเป็นโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] และแม้ในฉบับของตรียัมปวายจะมีข้อสันนิษฐานเพื่อยืนยันหลายข้อ แต่อย่างไรก็ตาม ประวัติทั้งสองฉบับกล่าวตรงกันเพียงว่า ข้อสันนิษฐานว่าด้วยบิดาของท่านนั้นเป็นเพียงเรื่องเล่าซึ่งชาวบ้านในสมัยนั้นกล่าวและเชื่อกันโดยทั่วไป<ref>ห้องสมุดวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร. (2554). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี). [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.watrakang.com/biography.php</ref><ref>ตรียัมปวาย. (2495). '''พระสมเด็จ'''. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).</ref>
 
=== บรรพชาและอุปสมบท ===
[[ไฟล์:BKK Wat Rakhang Ho Trai.jpg|thumb|สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ดำรงตำแหน่งทางคณะสงฆ์เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม ในสมัยรัชกาลที่ 4 จวบจนท่านมรณภาพในช่วงต้นรัชกาลที่ 5]]
เมื่อถึงวัยพอสมควรแล้ว ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ พ.ศ. 2343 ต่อมาปรากฏว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดและเมตตาสามเณรโตเป็นอย่างยิ่ง ครั้นอายุครบอุปสมบทปี พ.ศ. 2350 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น[[นาคหลวง]] อุปสมบท ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] มี[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)]] เป็นพระ[[อุปัชฌาย์]] มีฉายานามในพุทธศาสนาว่า "พฺรหฺมรํสี"<ref>ห้องสมุดวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร. (2554). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี). [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.watrakang.com/biography.php</ref> เนื่องจากเป็นนาคหลวงจึงเรียกว่า "พระมหาโต" มานับแต่นั้น<ref name="เรื่องตั้ง">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428|หน้า = 84-86}}</ref> ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ได้โปรดเกล้าฯ ให้รับพระมหาโตไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์
 
=== จริยาวัตร ===
 
ท่านมีอุปนิสัยทำสิ่งใดตามความพอใจของตน ไม่ถือเอาความนิยมขอผู้อื่นเป็นหลัก<ref name="เรื่องตั้ง"/> และไม่ปรารถนายศศักดิ์หรือลาภสักการะใด ๆ แม้ได้ศึกษาพระธรรมวินัยจนแตกฉาน ก็ไม่ยอมเข้าสอบ[[เปรียญธรรม]] ครั้นถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จะทรงตั้งท่านเป็นพระราชาคณะ แต่ท่านไม่ยอมรับ จึงคงเป็นพระมหาโตมาตลอดรัชกาล
 
ต่อมากล่าวกันว่า พระมหาโตได้ออก[[ธุดงค์]]ไปตามสถานที่ต่างๆ และได้สร้างปูชนียสถานในที่ต่างๆ กัน เช่น สร้างพระพุทธไสยาศน์ไว้ที่วัดสตือ ตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] สร้างพระพุทธรูปหลวงพ่อโต วัดไชโย [[จังหวัดอ่างทอง]] เป็นต้น ซึ่งปูชนียสถานทุกแห่งที่ท่านสร้างจะมีขนาดใหญ่โตสมกับชื่อของท่านอยู่เสมอ การจะสร้างปูชนียสถานขนาดใหญ่เช่นนี้ล้วนแต่ต้องใช้ทุนทรัพย์และแรงงานจำนวนมากในการก่อสร้างจึงจะทำได้สำเร็จ สิ่งเหล่านี้จึงเป็นเครื่องหมายแสดงถึงความศรัทธาและบารมีของท่าน ซึ่งเป็นที่เคารพเลื่อมใสของพุทธศาสนิกชนในย่านที่ท่านได้ธุดงค์ผ่านไปอย่างชัดเจน
 
=== สมณศักดิ์ ===
[[ไฟล์:Wat Intharawihan 01.jpg|180px|thumb|หลวงพ่อโต ([[พระศรีอริยเมตไตรย]]) [[วัดอินทรวิหาร]] กรุงเทพ ปูชนียสถานแห่งสุดท้ายที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ได้สร้างไว้]]
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์โปรดปรานพระมหาโตเป็นอย่างยิ่ง ในปี พ.ศ. 2395 พระองค์จึงได้พระราชทานสมณศักดิ์พระมหาโตเป็นครั้งแรก เป็นพระราชาคณะที่ "พระธรรมกิติ" และดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม ขณะนั้นท่านอายุ 65 ปี โดยปกติแล้วพระมหาโตมักพยายามหลีกเลี่ยงการรับพระราชทานสมณศักดิ์ แต่ด้วยเหตุผลบางประการ ทำให้ท่านต้องยอมรับพระราชทานสมณศักดิ์ในที่สุด อีก 2 ปีต่อมา (พ.ศ. 2397) ท่านจึงได้รับการเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่ที่ "พระเทพกระวี" หลังจากนั้นอีก 10 ปี (พ.ศ. 2407) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมณศักดิ์ขึ้นสมเด็จพระราชาคณะที่ "สมเด็จพระพุฒาจารย์" มีราชทินนามตามจารึกในหิรัญบัฏว่า
 
{{quote|[[สมเด็จพระพุฒาจารย์]] อเนกสถานปรีชา วิสุทธศีลจรรยาสมบัติ นิพัทธุตคุณ สิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกคณิศร สมณนิกรมหาปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลศีลขันธ์ สถิต ณ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร พระอารามหลวงฯ<ref name="เรื่องตั้ง"/>}}
 
สมณศักดิ์ดังกล่าวนี้นับเป็นสมณศักดิ์ชั้นสูงสุดและเป็นชั้นสุดท้ายที่ท่านได้รับตราบจนกระทั่งถึงวันมรณภาพ คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จโต" หรือ "สมเด็จวัดระฆัง" ส่วนคนในยุคร่วมสมัยกับท่านเรียกท่านว่า "ขรัวโต"<ref>พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 56</ref>
 
=== ปัจฉิมวัย ===
 
ราวปี พ.ศ. 2410 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ได้มาเป็นประธานก่อสร้างปูชนียวัตถุครั้งสุดท้ายที่สำคัญของท่าน คือ พระพุทธรูปหลวงพ่อโต ([[พระศรีอริยเมตไตรย]]) ที่[[วัดอินทรวิหาร]] (ในสมัยนั้นเรียกว่า วัดบางขุนพรหมใน) ทว่าการก่อสร้างก็ยังไม่ทันสำเร็จ โดยขณะนั้นก่อองค์พระได้ถึงเพียงระดับพระนาภี (สะดือ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ก็ได้มรณภาพบนศาลาเก่าวัดบางขุนพรหมใน ณ วันเสาร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก ตรงกับวันที่ [[22 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2415]] ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สิริรวมอายุได้ 84 ปี อยู่ในสมณเพศ 64 พรรษา เป็นเจ้าอาวาสครองวัดระฆังโฆสิตารามได้ 20 ปี
 
== คำสอน ==
[[ไฟล์:Wat Rakhangkositaram 04.jpg|150px|left|thumb|โต๊ะหมู่บูชาตั้งอัฐิธาตุบำเพ็ญกุศล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ในพระอุโบสถ[[วัดระฆังโฆสิตาราม]]]]
 
{{wikiquote}}
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) เป็นพระเกจิเถราจารย์ที่เป็นที่เคารพนับถือนอกจากด้านคาถาอาคมแล้ว ท่านยังได้ดำรงตนเป็นผู้สมถะ มักน้อยสันโดษ ไม่ปรารถนาลาภยศ การแสดงออกของท่านตามบันทึกหลักฐานในสมัยหลัง มักบันทึกถึงความเป็นพระเถระผู้มีเมตตา ดำรงศีลาจารวัตรเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของคนทั่วไป อย่างไรก็ตาม เอกสารที่บันทึกประวัติของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ไว้เป็นหมวดหมู่ชั้นเก่าสุด คือเอกสารฉบับของมหาอำมาตย์ตรีพระยาทิพยโกษา (สอน โลหนันท์) ซึ่งเป็นฉบับที่รวบรวมโดย ม.ล.พระมหาสว่าง เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ที่รวบรวมขึ้นในปี [[พ.ศ. 2473]]<ref>พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 92-93</ref> ไม่ได้บันทึกคำสอนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ไว้เป็นหมวดหมู่ เพียงแต่กล่าวถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ในช่วงชีวิตของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ต่างกรรมต่างวาระกัน ตามที่ผู้รวบรวมได้บันทึกมาจากปากคำผู้มีชีวิตร่วมสมัยกับสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) เท่านั้น
 
อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันได้ปรากฏมีคำสอนต่าง ๆ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นคำสอนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ที่เป็นที่นิยมนับถือกันทั่วไป โดยไม่มีการอ้างอิงที่มาที่แน่ชัด เช่น
 
"บุญเราไม่เคยสร้าง...ใครที่ไหนจะมาช่วยเจ้า ..."{{ต้องการอ้างอิงย่อหน้านี้}}
 
"ลูกเอ๋ย ก่อนที่จะเข้าไปขอบารมีหลวงพ่อองค์ใด เจ้าจะต้องมีทุนของตัวเอง คือบารมีของตนลงทุนไปก่อน เมื่อบารมีของเจ้าไม่พอจึงค่อยขอยืมบารมีคนอื่นมาช่วย มิฉะนั้นเจ้าจะเอาตัวไม่รอด เพราะหนี้สินในบุญบารมีที่ไปเที่ยวขอยืมมาจนพ้นตัว...เมื่อทำบุญทำกุศลได้บารมีมา ก็ต้องเอาไปผ่อนใช้หนี้เขาจนหมดไม่มีอะไรเหลือติดตัว...แล้วเจ้าจะมีอะไรไว้ในภพหน้า...หมั่นสร้างบารมีไว้...แล้วฟ้าดินจะช่วยเอง...จงจำไว้นะ... เมื่อยังไม่ถึงเวลาเทพเจ้าองค์ใดจะคิดช่วยเจ้าไม่ได้... ครั้นเมื่อถึงเวลา... ทั่วฟ้าจบดินก็ต้านเจ้าไม่อยู่...จงอย่าไปเร่งเทวดาฟ้าดิน เมื่อบุญเราไม่เคยสร้างไว้เลยจะมีใครที่ไหนมาช่วยเจ้า"{{ต้องการอ้างอิงย่อหน้านี้}}
 
== รูปเหมือนของสมเด็จโต ==
[[ไฟล์:Student pays respect to the Buddha.jpg|thumb|180px|ความศรัทธาในตัวสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย ทำให้เกิดความนิยมสร้างรูปหล่อเหมือนตัวจริงของท่านประดิษฐานตามวัดต่างๆ โดยทั่วไป (ในภาพนี้ รูปหล่อของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) อยู่ทางด้านซ้ายของภาพ)]]
เนื่องจากสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) เป็นพระมหาเกจิเถราจารย์ผู้เป็นที่เคารพนับถือยิ่งนับแต่เมื่อครั้งที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ จนถึงปัจจุบันผู้ศรัทธาในสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ได้ทำการสร้างรูปเหมือน รูปเคารพจำลองของท่านไว้ตามสถานที่ต่าง ๆ มากมาย โดยเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "รูปหล่อสมเด็จ" ตามหลักฐานฉบับของพระครูกัลยาณานุกูล (เฮง อิฏฐาจาโร) ระบุว่ารูปจำลองรูปแรกของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) คือรูปหล่อที่ประดิษฐานที่วัดเกศไชโยวรวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 ปั้นหุ่นลงรักปิดทองโดยหลวงวิจิตรนฤมล (พึ่ง ปฏิมาประกร) หน้าตัก 40.2 เซนติเมตร หล่อขึ้นที่วัดระฆังโฆสิตาราม แต่ได้หล่อเมื่อปีใดไม่ปรากฏ แต่สันนิษฐานว่าสร้างก่อนปี พ.ศ. 2444<ref>พระมหาเฮง อิฏฐาจาโร, . (2492). ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์. หน้า 152</ref> ดังความในสำเนาพระราชหัตถเลขา [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]คราวเสด็จประพาสมณฑลฝ่ายเหนือ พุทธศักราช 2444 ดังนี้
 
{{คำพูด|
เมืองสิงหบุรี<br />
วันที่ ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๐<br />
ถึงกรมหลวงเทวะวงษวโรปการ<br />
<br />
''"......เวลาเช้า ๒ โมงออกจากพลับพลาเมืองอ่างทอง มาจนเวลา ๕ โมงเช้าถึงวัดไชโย ได้แวะขึ้นที่วัด...'''ในมุขหลังพระอุโบสถรูปสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต มีเค้าจำได้ แต่หนุ่มไปกว่าเมื่อเวลาถึงมรณภาพสักหน่อยหนึ่ง'''...'''"''<ref>จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2465). พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ในรัชกาลที่ 5 นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆเปนภาคที่ 5. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทย. หน้า 3</ref>|พระราชหัตถเลขา <br />พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ <br />คราวเสด็จประพาสมณฑลฝ่ายเหนือ พุทธศักราช ๒๔๔๔}}
 
{{multiple image
| align = left
| direction = horizontal
| header =
| header_align = left/right/center
| footer = (ซ้าย) รูปเหมือนสมเด็จโตในพระวิหารวัดระฆังโฆสิตาราม (ขวา) รูปเหมือนสมเด็จโตในท่านับลูกประคำ เป็นรูปเหมือนที่มีเอกลักษณ์เฉพาะที่เป็นที่จดจำของคนในปัจจุบัน โดยได้ถอดแบบมาจากรูปถ่ายจริงของท่านเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่
| footer_align = left
| image1 = Wat_Rakhangkositaram_01.jpg
| width1 = 150
| caption1 =
| image2 = Bronze statue of Somdej Toh, Wat Intharawihan Bangkok.jpg
| width2 = 133
| caption2 =
}}
 
อย่างไรก็ดี รูปเคารพท่านที่เป็นที่แพร่หลายคือรูปหล่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ที่สร้างขึ้นและประดิษฐานอยู่ที่วัดระฆังโฆสิตาราม สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นไม่นานหลังจากได้สร้างรูปเคารพรูปแรกขึ้นและนำไปประดิษฐานที่วัดไชโยวรวิหาร ก่อนปี พ.ศ. 2444 มีขนาดหน้าตัก 48 เซนติเมตร ลักษณะนั่งสมาธิ โดยเคยมีงานแห่สมโภชรูปหล่อเจ้าประคุณสมเด็จฯ ในวัน แรม 3 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี<ref>เฮง อิฏฐาจาโร, พระมหา. (2492). ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์. หน้า152-153</ref> แต่ปัจจุบันได้เลิกจัดไปแล้ว ปัจจุบันรูปหล่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ของวัดระฆังโฆสิตาราม ยังคงประดิษฐานอยู่ในพระวิหารหน้าพระอุโบสถของวัด มีผู้คนเคารพนับถือมากราบไหว้สักการะมากในปัจจุบัน
 
ในช่วงหลัง มีผู้นำรูปถ่ายเมื่อครั้งมีชีวิตของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ในท่านับลูกประคำ ไปจัดสร้างเป็นรูปหล่อและรูปเหมือนเพื่อสักการบูชา จนเป็นที่แพร่หลาย และเป็นเอกลักษณ์ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) จนถึงปัจจุบัน ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่โตมากมาย เพื่อให้สมชื่อโต ของสมเด็จท่าน โดยรูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ขนาดใหญ่ เช่นที่ วิหารสมเด็จโต มูลนิธิสมเด็จพระพุฒาจารย์ [[อำเภอสีคิ้ว]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] สมเด็จโตองค์ใหญ่ปางเทศนาธรรม วัดโบสถ์ [[จังหวัดปทุมธานี]] สมเด็จโตองค์ใหญ่ [[วัดตาลเจ็ดยอด]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] สมเด็จโตองค์ใหญ่ที่สุดในโลก [[วัดสระลงเรือ]] [[จังหวัดกาญจนบุรี]] และที่วัดสามัคคีบรรพต [[จังหวัดชลบุรี]] เป็นต้น
 
== เชิงอรรถ ==
; หมายเหตุ
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ก|ก|ก}}}} ตำบลท่าอิฐในที่นี้ หมายถึงตำบลเมืองท่าค้าขายของเมืองเหนือในสมัยปลาย[[กรุงศรีอยุธยา]]ต่อต้น[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ซึ่งปัจจุบันคือแถบ 3 หมู่บ้านโบราณริม[[แม่น้ำน่าน|น้ำน่าน]]คือ บ้านท่าอิฐ บ้านท่าเสา และ[[บ้านคุ้งตะเภา]] ในเขต[[อำเภอเมืองอุตรดิตถ์]] (สมัยนั้นชื่ออำเภอบางโพ) [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] (สมัยนั้นชื่อแขวงพิไชย) ในปัจจุบัน<ref>เทวประภาส มากคล้าย. (2553). คุ้งตะเภา จากอดีตสู่ปัจจุบัน : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN 9789743648847</ref>
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ข|ข|ข}}}} เมืองเหนือในที่นี้หมายถึงคำเรียกของชาวเมืองเหนือในสมัยอยุธยาจนถึงช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งหมายถึงเมืองสุโขทัย พิษณุโลก พิชัย (อุตรดิตถ์ในปัจจุบัน) พิจิตร กำแพงเพชร อันเป็นกลุ่มหัวเมืองเหนือในสมัยอยุธยา หรือบ้านเมืองที่เคยอยู่ในเขตแคว้นของสุโขทัยแต่เดิม <ref>__________. (2543). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุตรดิตถ์. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. หน้า 104.</ref>
 
{{fs|130%|{{note label|reference_name_ค|ค|ค}}}} หากถือตามหลักฐานของพระครูกัลยาณานุกูลที่กล่าวว่ามารดาของท่านเป็นคนท่าอิฐ นางเกตุ ที่ขึ้นล่องเรือลงมาทำมาหากินแถบภาคกลางในช่วงหลังตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ย่อมมีความสอดคล้องกับประวัติของเมืองอุตรดิตถ์<ref>วิบูลย์ บูรณารมย์. (2540). ตำนานเมืองอุตรดิษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. อุตรดิตถ์: โรงพิมพ์พี.ออฟเซ็ทอาร์ท.</ref> ที่กล่าวว่าช่วงกรุงศรีแตก แถบอุตรดิตถ์ไม่ได้รับผลกระทบเพราะอยู่นอกทางเดินทัพ ทำให้แถบนี้มีคนแถบเมืองเหนือมาอาศัยหลบภัยมาก จนมีการตั้งชุมนุมพระฝางเป็นเมืองใหญ่ ในช่วงหลังชุมนุมเจ้าพระฝางแตกในปี พ.ศ. 2313<ref>__________. (ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช 1129-1130. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).</ref> เมืองท่าอิฐได้โรยราไปพักหนึ่งจนถึงช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เมืองพระฝางซึ่งอยู่เหนือท่าอิฐที่เคยเป็นชุมนุมใหญ่ก็ได้ทรุดโทรมจนหมดความสำคัญลง<ref>จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2465). พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ในรัชกาลที่ 5 นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆเปนภาคที่ 5. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทย. หน้า 47</ref> ทำให้ช่วงหลังครอบครัวมารดาของท่านจึงอพยพย้ายถิ่นมาทำมาหากินทางแถบเมืองใต้ (ภาคกลาง) แต่ช่วงหลัง ตำบลท่าอิฐก็เริ่มมีความเจริญสืบมาจนสมัยรัชกาลที่ 5
{{จบอ้างอิง}}
 
; อ้างอิง
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|2}}
</div>
เส้น 114 ⟶ 26:
|- valign="top"
|
* เฮง อิฏฐาจาโร, พระมหา. (2492). '''ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) '''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์.
* ตรียัมปวาย. (2495). '''พระสมเด็จ'''. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).
|
* พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). '''ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) '''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร.
* ธวัชชัย อิศรางกูร. (2510). '''สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) วัดระฆังโฆสิตาราม'''. นครหลวง : โรงพิมพ์อักษรสมัย.
|
|}
เส้น 124 ⟶ 32:
== ดูเพิ่ม ==
{{วิกิซอร์ซ|ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)}}
* [[พระสมเด็จวัดระฆัง|พระสมเ]]
* [[พระคาถาชินบัญชร]]
* [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]
* [[วัดไชโยวรวิหาร]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{บน}}
'''ข้อมูลอย่างเป็นทางการของพระอารามหลวง'''
 
* [http://www.watrakang.com/biography.php ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]. เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร (www.watrakang.com)
* [http://www.watindharaviharn.org/buddha.html ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]. เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของวัดอินทรวิหาร พระอารามหลวง (www.watindharaviharn.org)
 
* [http://www.watchaiyo.com/index.php/luangphortho ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]. เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของวัดเกศไชโยวรวิหาร (www.watchaiyo.com)
 
'''ข้อมูลประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) จากเว็บไซต์อื่น'''
 
* [http://www.dhammathai.org/monk/sangha27.php ประวัติพระอริยสงฆ์ไทย]. เว็บไซต์ธรรมะไทย (www.dhammathai.org)
* [http://www.9pha.com/?cid=357489 ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]. พระสมเด็จวัดระฆัง
{{กลาง}}
 
'''ข้อมูลคัดลอกจากเอกสารต้นฉบับ'''
 
* [http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-toh/lp-toh_hist_index.htm ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรํสี) จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรีพระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์)]. เว็บไซต์ประตูสู่ธรรม (www.dharma-gateway.com)
 
'''ข้อมูลสื่อวีดิทัศน์'''
 
* [http://www.buddhakhun.org/main//index.php?topic=1749.0 ภาพยนตร์ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]. เว็บไซต์พุทธคุณ (www.buddhakhun.org)
* [http://vdo.palungjit.com/video/1818/ภาพยนตร์ชีวประวัติสมเด็จโต ภาพยนตร์ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)]. เว็บไซต์พลังจิต (www.palungjit.com.com)
{{ล่าง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Somdej Phra Buddhacarya (Toh Brahmaramsi)}}