ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอนเซลาดัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venomous Sniper (คุย | ส่วนร่วม)
fix lint error
บรรทัด 52:
[[ไฟล์:William Herschel01.jpg|thumb|left|170px|[[วิลเลียม เฮอร์เชล]] ผู้ค้นพบดวงจันทร์เอนเซลาดัส]]
=== การค้นพบ ===
เอนเซลาดัสถูกค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเชื้อสายเยอรมันนาม [[วิลเลียม เฮอร์เชล]] เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1789 (พ.ศ. 2332) นับเป็นดวงจันทร์ของดาวเสาร์ดวงที่ 6 ที่ถูกค้นพบ และเป็นดวงจันทร์ในระบบสุริยะ[[เส้นเวลาการค้นพบดาวเคราะห์และดวงจันทร์ในระบบสุริยะ|ดวงที่ 12]] ที่ถูกค้นพบ เฮอร์เชลค้นพบโดยการใช้กล้องโทรทรรศน์ตัวใหม่ขนาด 1.2 เมตรของเขา ซึ่งเป็นกล้องที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น<ref name="Herschel_1795">Herschel, W. (1795) [http://adsabs.harvard.edu/cgi-bin/nph-data_query?bibcode=1795RSPT...85..347H&db_key=AST&link_type=ABSTRACT&high=45eb6e10af23195 ''Description of a Forty-feet Reflecting Telescope''], Philosophical Transactions of the Royal Society of London, Vol. 85, pp. 347–409 (รายงานโดย M. Arago (1871), [http://laplaza.org/~tom/People/Herschel.htm ''Herschel''], Annual Report of the Board of Regents of the Smithsonian Institution, หน้า 198–223)</ref><ref name="Frommert">Frommert, H.; and Kronberg, C.; [http://www.obspm.fr/messier/xtra/Bios/wherschel.html ''William Herschel (1738–1822)''].</ref> เนื่องจากเอนเซลาดัสมีค่า[[โชติมาตรปรากฏ]]สูงถึง +11.7 (ยิ่งค่ามากยิ่งสว่างน้อย) ประกอบกับถูกแสงสว่างกว่าจากดาวเสาร์และวงแหวนบดบัง ทำให้ยากต่อการสังเกตจากภาคพื้นโลก ซึ่งกล้องโทรทรรศน์ที่จะสามารถสังเกตเห็นได้ต้องมีกระจกรัศมีระหว่าง 15–30 เซนติเมตร และยังขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและ[[มลภาวะทางแสง]]ในขณะนั้น สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญต่อการสำรวจและค้นพบวัตถุบนท้องฟ้าก่อน[[ยุคอวกาศ]] อันเป็นยุคที่มีกล้องโทรทรรศน์ลอยอยู่ในอวกาศปราศจากการรบกวนของชั้นบรรยากาศโลก เอนเซลาดัสถูกค้นพบครั้งแรกในขณะที่ดาวเสาร์กำลังอยู่ในช่วง[[วิษุวัต]] ซึ่งโลกอยู่ในระนาบเดียวกันกับวงแหวนของดาวเสาร์ ทำให้แสงรบกวนจากวงแหวนลดน้อยลงจนสามารถสังเกตดวงจันทร์ได้ง่ายขึ้น นับตั้งแต่สมัยที่เฮอร์เชลค้นพบเอนเซลาดัสจนถึงก่อนการสำรวจของยานวอยเอจเจอร์ มนุษย์รู้จักดวงจันทร์ดวงนี้เพียงแค่ลักษณะการโคจร ค่าประมาณของ[[มวล]] [[ความหนาแน่น]] และ[[อัตราส่วนสะท้อน]]ของมันเท่านั้นชื่อของดวงจันทร์ดวงนี้ตั้งตามยักษ์ใน[[เทพปกรณัมกรีก]]ชื่อว่า [[เอนซีลาดุส|เอนเซลาดัส]] (Enceladus หรือ Enkelados, Ἐγκέλαδος) ที่ [[จอห์น เฮอร์เชล|จอห์น เฮอร์เชลดะัเัเัพ้่เ้]]วงจันทร์ของดาวเสาร์เกี่ยวข้องกับ[[ไททัน (เทพปกรณัม)|เทพไททัน]] เนื่องจากชื่อของดาวเสาร์ ([[แซทเทิร์น (เทพปกรณัม)|แซทเทิร์น]]) ในตำนานกรีกเปรียบได้กับเทพ[[โครเนิส]] ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายไททัน
 
ส่วนลักษณะทางกายภาพต่าง ๆ ที่ปรากฏบนดวงจันทร์เอนเซลาดัสถูกตั้งชื่อโดย[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]] (IAU) โดยกำหนดให้ใช้ชื่อจากตัวละครและสถานที่ในเรื่อง "[[อาหรับราตรี]]"<ref name="NameCategories">Blue, J. (2006). [http://planetarynames.wr.usgs.gov/append6.html ''Categories for Naming Planetary Features''].</ref> โดยหลุมอุกกาบาตจะถูกตั้งจากชื่อตัวละคร ส่วนลักษณะทางกายภาพอื่น ๆ จะถูกตั้งตามชื่อสถานที่สถานทีดปักพะาะัแ้แมท่้265668336่้ี้้รี้ีร้อ เอัะกอีัััััััััััััััััััเ้้่ั่นรัพะกพหผหผผไผไถถถุดดอุถอิตตคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค ปัจจุบัน สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลกำหนดชื่อสถานที่อย่างเป็นทางการแล้ว 57 แห่ง โดยตั้งชื่อเมื่อปี ค.ศ. 1982 จำนวน 22 แห่ง ตามผลการสำรวจของยานวอยเอจเจอร์ และเพิ่มเติมอีก 35 แห่งในปี ค.ศ. 2006 จากผลการสำรวจของยานแคสซีนีในปี ค.ศ. 2005<ref name="NewNames">Blue, J. (2006). [http://astrogeology.usgs.gov/HotTopics/index.php?/archives/224-New-Names-for-Enceladus.html ''New Names for Enceladus''], 13 พ.ย. 2006.</ref>
=== การตั้งชื่อ ===
ชื่อของดวงจันทร์ดวงนี้ตั้งตามยักษ์ใน[[เทพปกรณัมกรีก]]ชื่อว่า [[เอนซีลาดุส|เอนเซลาดัส]] (Enceladus หรือ Enkelados, Ἐγκέλαδος) ที่ [[จอห์น เฮอร์เชล]] ลูกชายของวิลเลียม ได้เสนอไว้ในหนังสือ ''Results of Astronomical Observations made at the Cape of Good Hope''<ref name="Lassell">รายงานโดย [[:en:William Lassell|William Lassell]] (14 ม.ค. 1848), [http://adsabs.harvard.edu//full/seri/MNRAS/0008//0000042.000.html Monthly Notices of the Royal Astronomical Society, Vol. 8, No. 3, หน้า 42–43]</ref> ซึ่งตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1847 (พ.ศ. 2390) โดยกำหนดให้ชื่อดวงจันทร์ของดาวเสาร์เกี่ยวข้องกับ[[ไททัน (เทพปกรณัม)|เทพไททัน]] เนื่องจากชื่อของดาวเสาร์ ([[แซทเทิร์น (เทพปกรณัม)|แซทเทิร์น]]) ในตำนานกรีกเปรียบได้กับเทพ[[โครเนิส]] ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายไททัน
 
ส่วนลักษณะทางกายภาพต่าง ๆ ที่ปรากฏบนดวงจันทร์เอนเซลาดัสถูกตั้งชื่อโดย[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]] (IAU) โดยกำหนดให้ใช้ชื่อจากตัวละครและสถานที่ในเรื่อง "[[อาหรับราตรี]]"<ref name="NameCategories">Blue, J. (2006). [http://planetarynames.wr.usgs.gov/append6.html ''Categories for Naming Planetary Features''].</ref> โดยหลุมอุกกาบาตจะถูกตั้งจากชื่อตัวละคร ส่วนลักษณะทางกายภาพอื่น ๆ จะถูกตั้งตามชื่อสถานที่ ปัจจุบัน สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลกำหนดชื่อสถานที่อย่างเป็นทางการแล้ว 57 แห่ง โดยตั้งชื่อเมื่อปี ค.ศ. 1982 จำนวน 22 แห่ง ตามผลการสำรวจของยานวอยเอจเจอร์ และเพิ่มเติมอีก 35 แห่งในปี ค.ศ. 2006 จากผลการสำรวจของยานแคสซีนีในปี ค.ศ. 2005<ref name="NewNames">Blue, J. (2006). [http://astrogeology.usgs.gov/HotTopics/index.php?/archives/224-New-Names-for-Enceladus.html ''New Names for Enceladus''], 13 พ.ย. 2006.</ref>
 
== การสำรวจ ==
เส้น 107 ⟶ 104:
 
=== โครงการสำรวจในอนาคต ===
การค้นพบสิ่งต่าง ๆ บนดวงจันทร์เอนเซลาดัสของยานแคสซีนีทำให้มีการศึกษาและเสนอโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแทบทันที โดยในปี ค.ศ. 2007 [[นาซา]]ได้เสนอโครงการที่จะนำยานไปโคจรรอบเอนเซลาดัสและศึกษาปรากฏการณ์การปะทุบริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์<ref name="NASASSE">[http://solarsystem.nasa.gov/missions/profile.cfm?Sort=Target&Target=Saturn&MCode=EE "Missions to Saturn, Cassini"], NASA.</ref> แต่ก็ไม่ได้รับการคัดเลือก<ref name="PEN122007">[http://planetarynews.org/archive07/pen_v01_n36_071223.txt Planetary exploration newsletter Volume 1, Number 36], 23 ธ.ค. 2007.</ref> อย่างไรก็ตาม [[องค์การอวกาศยุโรป]] (ESA) ก็มีแผนส่งยานขึ้นไปสำรวจเอนเซลาดัสพร้อม ๆ กับสำรวจ[[ไททัน (ดวงจันทร์)|ไททัน]] ดวงจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดของ[[ดาวเสาร์]]<ref name="TandEM">[http://sci.esa.int/science-e/www/object/index.cfm?fobjectid=42337 TandEM (Titan and Enceladus Mission) Workshop], 7 ก.พ. 2008.</ref> ดังนั้นจึงเกิดภารกิจ ''Titan Saturn System Mission'' (TSSM) ขึ้นมา ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง[[นาซา]]และ[[องค์การอวกาศยุโรป|อีเอสเอ]] ที่จะส่งยานขึ้นไปสำรวจ[[ดวงจันทร์ของดาวเสาร์]] ซึ่งรวมถึงเอนเซลาดัสด้วยอย่างแน่นอน ภารกิจนี้ถูกเสนอ (เข้าชิง) เพื่อขอเงินสนับสนุนพร้อมกับภารกิจ ภือเอ้อออ้อ้อ้อ้''Europauropa Jupiter System Mission'' (EJSM) ซึ่งเป็นภารกิจสำรวจ[[ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี]] ซึ่งได้ประกาศผลไปเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) โดยที่ภารกิจสำรวจดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี (EJSM) ได้รับการคัดเลือกให้จัดตั้งก่อนภารกิจสำรวจดวงจันทร์ของเสาร์ (TSSM)<ref>Rincon, Paul (18 ก.พ. 2009). [http://news.bbc.co.uk/1/hi/sci/tech/7897585.stm "Science & Environment &#124; Jupiter in space agencies' sights"]. BBC News.</ref>
 
== ลักษณะการโคจร ==