ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอเอ็มดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้คำผิด
บรรทัด 22:
| homepage = [http://www.amd.com/ www.amd.com]
}}
''' แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์, Inc.''' หรือ '''เอเอ็มดี''' เป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน ก่อตั้งเมื่อ ปี [[ค.ศ. 1969]]
''' แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์, Inc.''' หรือ '''เอเอ็มดี''' เป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน ก่อตั้งเมื่อ ปี [[ค.ศ. 1969]] โดยพนักงานเก่าจากบริษัท [[Fairchild Semiconductor]] โดย เอเอ็มดี ผลิตสินค้าเกี่ยวกับ เซมิคอนดัคเตอร์ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่[[มลรัฐแคลิฟอร์เนีย]] โดยเป็นผู้พัฒนา ซีพียู และเทคโนโลยีต่างๆ ออกสู่ตลาด และ ผู้ใช่ทั่วไป.โดยที่สินค้าหลักของบริษัทคือ [[ไมโครโพรเซสเซอร์]],[[เมนบอร์ด]][[ชิปเซ็ต]],[[การ์ดแสดงผล]],[[ระบบฟังตัว]] สำหรับคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์,คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และ ระบบฝังตัวต่าง โดยที่ผลิตภัณฑ์ของเอเอ็มดีที่เป็นที่รู้จักได้แก่ไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูล [[APU]],[[Phenom II]],[[Athlon II]], [[Sempron]], บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล, APU Mobile ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา,[[Opteron]] สำหรับเซิร์ฟเวอร์ และชิปกราฟิก [[Radeon]]
เอเอ็มดี เป็นผู้ผลิตอันดับ 2 ในตลาดของไมโครโพรเซสเซอร์ ที่มีพื้นฐานอยู่บน [[x86]] อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในผู้ผลิตชิปกราฟิกการ์ดรายใหญ่ของโลก และ ยังผลิตหน่วยความจำแบบแฟลช โดยในปี 2010 เอเอ็มดี เป็นผู้ผลิตเซมิคอนดัคเตอร์ อันดับที่ 12 ของโลก<ref>{{cite web |url=http://www.isuppli.com/News/Pages/Semiconductor-Market-Declines-Less-Than-Expected-Samsung-Shines-in-2009.aspx|title=Semiconductor market declines less than expected |publisher=iSuppli|date=November 23, 2009}}</ref>
 
'''เอเอ็มดี'''นับเป็นคู่แข่งที่สำคัญของ[[อินเทล]]ในตลาดไมโครโพรเซสเซอร์ และมีคดีความฟ้องร้องกันอยู่ในหลายประเทศ เรื่องอินเทล[[ผูกขาดการค้า]] ปัจจุบันได้ทำการยอมความกันไปแล้ว<ref>{{cite web |url=http://www.blognone.com/node/13884|title=AMD รับ 1.25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จาก Intel เพื่อยอมความระหว่างกัน |publisher=Blognone|date=August 6,2011}}</ref>
 
== ประวัติของบริษัท ==
[[ไฟล์:AMDmarkham4.jpg|thumb|left|แคมปัสของเอเอ็มดี ใน [[Markham, Ontario|Markham, ออนทาริโอ, แคนาดา]], เดิมคือสำนักงานใหญ่ของ ATI]]
[[ไฟล์:Amdheadquarters.jpg|thumb|right|250px|สำนักงานใหญ่ของ [[Sunnyvale, California]]]]
แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1969,<ref>{{cite book|last=Rodengen|first=Jeffrey L.|title=The spirit of AMD, Advanced Micro Devices|year=1998|publisher=Write Stuff Engerprises|location=Fort Lauderdale, FL|isbn=978-0-945903-21-5|page=30}}</ref> โดยกลุ่มผู้บริหารเดิมจาก [[Fairchild Semiconductor]], ประกอบด้วย [[เจอรี่ แซนเดอร์]] [[เอ็ดวิน เทอร์นี่]], จอห์น คาเรย, สเวน ซิมอนเซน, [[แจ๊ค กิฟฟอร์ด]] และ สมาชิก 3 คนในกลุ่มของแจ๊ค, แฟรงค์ บ๊อทเต้, จิม ไจลส์, และ แลรี่ สเตรนเจอร์.โดยที่บริษัทเริ่มผลิต ลอจิกชิป , ต่อมาจึงเข้าสู่ธุรกิจการผลิตแรมในปี 1975. และในปีเดียวกันนี้เอง พวกเขาก็เริ่มจำหน่ายสิ่งที่ได้จากการทำสถาปัตยกรรมย้อนกลับซึ่งเป็นสิ่งที่เลียนแบบมาจาก หน่วยประมวลผล [[Intel 8080]]. ในช่วงเวลานั้น,เอเอ็มดีก็ได้ออกแบบและสร้างหน่วยประมวลผลในซีรีส์ ([[Am2900]], Am29116, Am293xx) ซึ่งถูกนำมาใช้แพร่หลายในการออกแบบวงจรของมินิคอมพิวเตอร์เวลาต่อมา, เอเอ็มดีก็พยายามที่จะทำให้โปรเซสเซอร์เล็กลง โดยการรวม [[Am29000|AMD 29K processor]], ให้เข้ากับ อุปกรณ์กราฟิกและเสียง เช่นเดียวกับหน่วยความจำแบบ EPROM. โดยมันเสร็จในช่วงกลางปี 1980 เรียกกันว่า AMD7910 and AMD7911 "World Chip" โดยเป็นอุปกรณ์แรกๆที่ ครอบคลุมทั้ง Bell และCCITT. โดย AMD 29K ยังเป็น [[embedded processor]] อีกด้วย และ เอเอ็มดี ยังแยกให้ Spansion ออกไปเพื่อสร้าง [[หน่วยความจำแฟลช]]. เอเอ็มดี ยังตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแนวทางสู้กับหน่วยประมวลผลจาก อินเทล โดยวางให้เป็นธุรกิจหลัก และให้ตลาดหน่วยความจำแฟลชเป็นตลาดรอง
 
เอเอ็มดี ประกาศว่าได้เข้าซื้อกิจการของ [[ATI Technologies]] ในวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 2006.โดยที่ เอเอ็มดี จ่ายเงินสด$4.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และหุ้นจำนวน 58 ล้านหุ้น, รวมมูลค่าทั้งหมด$5.4พันล้านดอลลาร์สหรัฐ. โดยกระบวนการทั้งหมดเสร็จสิ้นเมื่อ 25 ตุลาคม ค.ศ. 2006<ref>{{cite web |url=http://www.newswire.ca/en/releases/archive/October2006/25/c4187.html |title=AMD Completes ATI Acquisition and Creates Processing Powerhouse |publisher=NewsWire |date=October 25, 2006}}{{ลิงก์เสีย|date=มีนาคม 2556}}</ref> ในปี ค.ศ. 2010 หน่วยประมวลผลทั้งหมดของบริษัทเปลี่ยนมาใช้ชื่อแบรด์ AMD ในการทำตลาด.<ref>{{cite web|url=http://www.arnnet.com.au/article/358774/ati_re-branded_amd/ |title=ATI to be re-branded as AMD – branding, ATI Radeon, ati, amd – ARN |publisher=Arnnet.com.au |date=2010-08-30 |accessdate=2011-02-19}}</ref>
 
ในรายงานเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 2006 ของ เอเอ็มดี, และคู่แข่งในอุตสาหกรรมอย่าง [[Nvidia]], ได้รับหมายศาลจาก กระทรวงยุติธรรม ของสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับการตั้งราคาของการ์ดจอให้มีการแข่งขันกันอย่างยุติธรรมไม่ให้ร่วมกันตั้งราคาสูงเอาเปรียบผู้บริโภค<ref>{{cite web |url=http://news.zdnet.com/2100-9584_22-6140041.html |title=Justice Dept. subpoenas AMD, NVIDIA|work=New York Times |date=December 1, 2006}}{{ลิงก์เสีย|date=มีนาคม 2556}}</ref>
 
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008, เอเอ็มดี ได้ประกาศแผนที่จะแยกโรงงานผลิตโปรเซสเซอร์ โดยได้รับการลงทุนจาก [[Advanced Technology Investment Company|Advanced Technology Investment Co.]], โดยร่วมทุนกับบริษัทจากรัฐบาลของ [[Abu Dhabi]]. โดยบริษัทใหม่นี้มีชื่อเรียกว่า [[GlobalFoundries|GlobalFoundries Inc.]]. โดยทางบริษัทใหม่นี้จะทำหน้าที่การผลิตชิปต่างๆให้กับ เอเอ็มดี ผู้เดียว<ref>{{cite news|url=http://www.nytimes.com/2008/10/07/technology/07chip.html?bl&ex=1223611200&en=6c2c0d7539595be6&ei=5087%0A |work=The New York Times |title=A.M.D. to Split Into Two Operations |first=Ashlee |last=Vance |date=October 7, 2008 |accessdate=March 26, 2010 }}</ref> โดยการแยกตัวออกมาครั้งนี้ทำให้พนักงานกว่า 1,000 ตำแหน่งถูกเลิกจ้าง ซึ่งนับเป็น 10% ของพนักงาน เอเอ็มดี ทั่วโลก .<ref name=linuxgram/>
 
ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2011, เอเอ็มดี ประกาศว่าอดีตซีอีโอจาก [[เลโนโว]] [[โรรี่ รีด]] จะมาทำหน้าที่เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารต่อจาก [[ดริก มีเยอร์]].<ref>Dylan McGrath, EE Times. "[http://eetimes.com/electronics-news/4219307/AMD-appoints-former-Lenovo-exec-CEO Former IBM, Lenovo exec takes the helm at AMD]". August 25, 2011. Retrieved August 25,
2011.</ref> และเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายต่างๆและจึงทำให้มีแผนการแก้ไขแรงงานให้มุ่งเน้นไปที่การสนับสนุนการพัฒนาของ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์พลังงานต่ำ,ในเดือน พฤศจิกายน เอเอ็มดีจึงได้ประกาศเลิกจ้างพนักงาน 1400 คน ซึ่งนับว่าเป็น 10% จากพนักงานทั่วโลก.<ref name=linuxgram/> โดยแผนนี้มีเวลาสิ้นสุดถึง ไตรมาสที่ 1 ปี ค.ศ. 2012 <ref name=linuxgram>{{cite web|url=http://linuxgram.com/2011/11/04/amd-to-fire-1400/ |title=AMD To Fire 1,400 |date=November 4, 2011 }}</ref>
 
เอเอ็มดียังประกาศแผนในตุลาคม ค.ศ. 2012 โดยมีแผนจะเลิกจ้างพนักงานเพิ่ม 15% เพื่อลดค้าใช้จ่ายลงอีก.<ref name=king2012>{{Citation|author=Ian King |editor=Tom Giles |publication-date=October 18, 2012 |title=AMD Forecast Misses Estimates; to Cut 15 Percent of Staff |publisher=[[Bloomberg L.P.|Bloomberg]] |url=http://www.bloomberg.com/news/2012-10-18/amd-sales-forecast-misses-estimates-to-cut-15-percent-of-staff.html |accessdate=October 31, 2012 }}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2012 นี้ AMD ยังเข้าซื้อกิจการ [[SeaMicro]] ผู้ผลิตเซิฟเวอร์ประหยัดพลังงาน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในแผนเพื่อส่วนแบ่งการตลาดของผลิตภันฑ์กลุ่มนี้<ref name=vance2012/>
 
== ประวัติของโปรเซสเซอร์ในตลาด ==
[[ไฟล์:KL Advanced Micro Devices AM9080.jpg|thumb|โปรเซสเซอร์ก่อน AMD 8080 (AMD AM9080ADC / C8080A), ปี ค.ศ. 1977]]
[[ไฟล์:KL AMD D8086.jpg|thumb|AMD D8086, ปี ค.ศ. 1978]]
{{See also|รายชื่อไมโครโพรเซสเซอร์ของ AMD}}
=== คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของไอบีเอ็มและสถาปัตยกรรม x86 ===
{{Main|Am286|Am386|Am486|Am5x86}}
ในเดือนกุมภาพันธ์ปี ค.ศ. 1982, เอเอ็มดี ได้ลงนามทำสัญญากับ [[อินเทล คอร์ปอร์เรชั่น|อินเทล]], เพื่อมีสิทธิในการผลิตซีพียูที่มีต้นแบบมาจาก [[Intel 8086|8086]] และ [[Intel 8088|8088]] โปรเซสเซอร์. เพราะว่า [[IBM]] ต้องการใช้ Intel 8088 ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของพวกเขาเอง,แต่ในข้อตกลงของ IBM ในเวลานั้น ต้องการให้มีการผลิตชิป 2 เจ้าจึงจะใช้ชิปนี้ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของพวกเขา. ภายหลังนั้น เอเอ็มดี ได้ผลิต [[Am286]] ขึ้นมา ภายใต้ข้อตกลงเดียวกัน, แต่ว่าอินเทลยกเลิกข้อตกลงนี้ในปี ค.ศ. 186 และ ปฏิเสธที่จะถ่ายทอดรายละเอียดทางเทคนิคในส่วนของ [[Intel 80386|i386]] . เอเอ็มดี จึงได้ต่อสู้ฟ้องร้อง ไม่ให้อินเทลยกเลิกสัญญานี้ และพวกเขาก็เป็นฝ่ายชนะในการฟ้องร้อง, แต่อินเทลได้ยื่นอุทรณ์. ทำให้คดีความนั้นเกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน จนไปจบลงในปี ค.ศ. 1994 เมื่อศาลแห่งแคลิฟฟอร์เนีย ได้ตัดสินให้ เอเอ็มดี เป็นฝ่ายชนะคดี. ซึ่งเป็นกลางต่อ เอเอ็มดี และ เอเอ็มดี ยังมีสิทธิตามกฎหมายที่จะใช้ Intel's [[microcode]]. ระหว่างที่คดีความยังไม่แน่นอนนั้น เอเอ็มดี ก็ได้พัฒนาการดีไซน์ซีพียูจากการทำสถาปัตยกรรมย้อนกลับจากโค๊ดของอินเทลอีกด้วย.
 
ในปี ค.ศ. 1991, เอเอ็มดี ได้วางจำหน่าย [[Am386]],ซึ่งเลียนแบบมาจากโปรเซสเซอร์ Intel 386 . ซึ่งมันสามารถทำยอดขายถึง 1 ล้านชิ้นในเวลาไม่นาน.หลังจากนั้น, [[Am486]] ก็ถูกใช้เป็นส่วนประกอบของผู้ผลิตคอมพิวเตอร์อย่าง, [[คอมแพค]], และบริษัทอื่นๆ. ผลิตภันฑ์ที่มีพื้นฐานมาจาก Am486-based ,ได้แก่ [[Am5x86]], ก็สร้างความสำเร็จให้แก่ เอเอ็มดี ในตลาดระดับล่าง. อย่างไรก็ตาม, ผลิตภัณฑ์นี้ก็มีช่วงระยะเวลาไม่นานในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล, เพราะว่าโปรเซสเซอร์ที่ได้จากการทำสถาปัตยกรรมย้อนกลับจากโค๊ดของอินเทลก็ได้วางตลาด และเป็นกำลังหลักของบริษัทในเวลาต่อมา.
 
=== K5, K6, แอททอล์น, ดูรอน และ เซมพรอน ===
{{Main|AMD K5|AMD K6|แอททอล์น|ดูรอน|เซมพรอน}}
โปรเซสเซอร์ x86 ลำดับแรกของเอเอ็มดีคือ[[AMD K5|K5]], ซึ่งว่างจำหน่ายในปี ค.ศ. 1996.<ref name="CPU-INFO K5">{{cite web|url=http://www.cpu-info.com/index2.php?mainid=html/cpu/amdk5.php |title=AMD K5 |accessdate=July 11, 2007 |publisher=CPU-INFO.COM | archiveurl= http://web.archive.org/web/20070818021000/http://www.cpu-info.com/index2.php?mainid=html/cpu/amdk5.php| archivedate= 18 August 2007 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> โดยที่ตัว "K" ที่อยู่ด้านหน้าของรุ่นซีพียูคือ [[คริปโตไนต์]]. (เป็นแร่ในจินตนาการจากการ์ตูนฝรั่งเรื่อง ซูเปอร์แมน ของ ค่ายดีซีคอมิก และแร่นี้จะปล่อยกัมมันตภาพรังสีซึ่งสามารถที่จะส่งผลให้ซูเปอร์แมนอ่อนแอลงได้.ซึ่งทางเอเอ็มดีนั้นเปรียบอินเทลเป็นเสมือน ซูเปอร์แมน เพราะว่ามีส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุด<ref name="Forbes-Chip-Names">{{cite news | first=Arik | last=Hesseldahl | coauthors= | title=Why Cool Chip Code Names Die | date=July 6, 2000 |work=Forbes Inc | url =http://www.forbes.com/2000/07/06/mu2.html | pages = | accessdate = July 14, 2007 | language = }}</ref>) โดยที่หมายเลข 5 นั้นก็คือ รุ่นของหน่วยประมวลผล, ซึ่งเอเอ็มดีไม่สามารถใช้ชื่อตามอินเทลได้ เพราะเมื่ออินเทลได้วางตลาดเพนเทียม,พวกเขาก็ได้จดชื่อเป็นชื่อทางการค้า มิใช่เลขสามัญดังเดิม ทำให้เอเอ็มดีไม่สามารถใช้ชื่อเพนเทียมทำการค้าได้.
 
ในปี ค.ศ. 1996,เอเอ็มดีได้เข้าซื้อกิจการของ [[NexGen]],สำหรับเพื่อมีสิทธิ์ในการใช้ Nx series กับโปรเซสเซอร์แบบ x86 อย่างถูกต้อง.เอเอ็มดีได้ให้ทีมดีไซน์ของ NexGen ซึ่งเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์นั้น, ให้อยู่ตามลำพัง, และมอบเวลาและเงินให้พวกเขาสร้าง Nx686 ใหม่. ผลของการสร้างนั้นทำให้ได้โปรเซสเซอร์ [[AMD K6|K6]] , ซึ่งออกวางจำหน่ายในปีค.ศ. 1997. โดยที่ตัวโปรเซสเซอร์ K6 นั้นใช้ [[Socket 7]] ในการติดตั้งลงบนเมนบอร์ด,และยังไม่พอรุ่น K6-3/450 ของพวกเขานั้นสามารถทำความเร็วได้มากกว่าอินเทล เพนเทียม II (ซึ่งเป็นเจอเนอเรชั่นที่ 6 ของโปรเซสเซอร์). K7 เป็นโปรเซสเซอร์รุ่นที่ 7 ของเอเอ็มดี, โดยเริ่มวางขายเมื่อ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1999, ภายใต้ชื่อแบรนด์ แอททอล์น . ซึ่งแตกต่างจากโปรเซสเซอร์รุ่นก่อนๆของเอเอ็มดี,แอททอล์น นั้นยังไม่สามารถใช้เมนบอร์ดร่วมกับอินเทลเมื่ออย่างแต่ก่อนได้อีกเนื่องจากปัญหาทางลิขสิทธิ์ของ [[Slot 1]] , แอททอล์นจึงใช้ [[Slot A]] แทน, ซึ่งเป็นซ๊อกเก็ตของโปรเซสเซอร์จากทางบริษัท [[DEC Alpha|Alpha]]. [[ดูรอน]] เป็นโปรเซสเซอร์ที่มีราคาถูกและจำกัดคุณสมบัติบางอย่างให้ต่ำลงจากแอททอล์น (มี L2 cache 64KB จาก 256KB ของแอททอล์น) ใช้ในซ๊อกเก็ตแบบ 462 เข็ม (ซ๊อกเก็ต A) หรือเมนบอร์ดที่บัดกรีซีพียูลงโดยตรงบนเมนบอร์ด. [[เซมพรอน]] วางจำหน่ายโดยเป็นเวอร์ชันที่ถูกลงของแอททอล์น เอ๊กซ์พี, โดยที่วางจำหน่ายทับไลน์เดิมของดูรอน ในซ๊อกเก็ต A ยุค PGA และยังได้รับการพัฒนาให้เป็นซีพียูในยุคของซ๊อกเกต AM 3 อีกด้วย
 
แอททอล์น เอ๊กซ์พีนั้นเริ่มวางจำหน่ายในวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2001, และแอททอล์นเอ๊กซ์พีที่มาพร้อมกับหน่วยความจำแบบ L2 จำนวน 512 KB นั้นได้วางตลาดในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003.<ref name="The AMD Athlon XP Processor with 512KB L2 Cache">{{cite news | first=Jack | last=Huynh | coauthors= | title=The AMD Athlon XP Processor with 512KB L2 Cache | date=February 10, 2003 | publisher=AMD | url =http://www.amd.com/us-en/assets/content_type/white_papers_and_tech_docs/26485A_AthlXPwp_2-20.pdf |format=PDF| work=amd.com | pages = | accessdate = October 2, 2007 | language = | archiveurl= http://web.archive.org/web/20071026182602/http://www.amd.com/us-en/assets/content_type/white_papers_and_tech_docs/26485A_AthlXPwp_2-20.pdf|archivedate= 26 October 2007 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref>
 
=== แอททอล์น 64, ออพเทอรอน และ ฟีน่อม ===
 
<!-- Image with inadequate rationale removed: [[ไฟล์:AMD Athlon 64 X2 Processor Logo.svg|left|101px]] -->
 
<!-- Deleted image removed: [[ไฟล์:AMD Barcelona die.jpg|right|thumb|175px|Quad-core "Barcelona" die-shot.]] -->
 
{{Main|แอททอล์น 64|ออพเทอรอน|ฟีน่อม (โปรเซสเซอร์)}}
 
สถาปัตยกรรม K8 นั้นพัฒนามาจากสถาปัตยกรรม K7 มาก, โดยมีคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดเพิ่มมาอย่างคำสั่งของโปรเซสเซอร์แบบ [[64-bit]] ซึ่งนำมาใช้ร่วมกับคำสั่งของโปรเซสเซอร์ x86ได้เป็นครั้งแรก (เรียกันว่า [[x86-64]], AMD64, หรือ x64), เพิ่มหน่วยความคุมหน่วยความจำเข้าไปในตัวโปรเซสเซอร์, แลเพิ่มการเชื่อต่อแบบจุดต่อจุดซึ่งมีความเร็วสูง เรียกกันว่า [[ไฮเปอร์ทรานสปอร์ต]], ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ [[สถาปัตยกรรมการเชื่อมต่อโดยตรง]]. ซึ่งเทคโนโลยีนี้เริ่มปรากฏเป็นครั้งแรกในออพเทอรอนซึ่งเป็นโปรเซสเซอร์ที่มุ่งเน้นการทำตลาดในฝั่งของเซิฟเวอร์ซึ่งเปิดตัวในวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 2003 s.<ref>Scott Wasson. "[http://www.techreport.com/reviews/2003q3/workstation/index.x?pg=1 Workstation platforms compared]", ''techreport.com'', The Tech Report, LLC., 2003-09-15, Retrieved on July 29, 2007.</ref> Shortly thereafter it was incorporated into a product for desktop PCs, branded [[Athlon 64]].<ref>Scott Wasson. "[http://www.techreport.com/reviews/2003q3/athlon64/index.x?pg=1 AMD's Athlon 64 processor]", ''techreport.com'', The Tech Report, LLC., September 23, 2003. Retrieved on July 29, 2007.</ref>
 
วันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 2005 เอเอ็มดีก็ได้วางตลาดออพเทอรอน ซึ่งเป็นซีพียูแบบดูอัลคอร์รุ่นแรกของเอเอ็มดี, และบนเครื่องเซิฟเวอร์ที่ใช้ซีพียูแบบ x86.<ref>Scott Wasson. "[http://www.techreport.com/reviews/2005q2/opteron-x75/index.x?pg=1 AMD's dual-core Opteron processors]", ''techreport.com'', The Tech Report, LLC., April 21, 2005. Retrieved on July 29, 2007.</ref> ในเดือนต่อมาเแอเอ็มดีก็ได้วางขาย [[แอนทล์น 64 X2]], ซึ่งเป็นโปรเซสเซอร์แบบดูอัลคอร์รุ่นแรกบนตลาดโปรเซสเซอร์แบบทั่วไป .<ref>Scott Wasson. "[http://www.techreport.com/reviews/2005q2/athlon64-x2/index.x?pg=1 AMD's Athlon 64 X2 processors]", ''techreport.com'', The Tech Report, LLC., May 9, 2005. Retrieved on July 29, 2007.</ref> หลังจากเดือนพฤษภาคม ปี 2007 , เอเอ็มดีก็ได้ยกเลิกการใช้เลข 64 ในโปรเซสเซอร์ที่วางตลาดทั่วไป, และเปลี่ยนชื่อให้เป็นแอททอร์น X2 เฉยๆ, เพราะว่าความสำคัญของสัญลักษณ์โปรเซสเซอร์ของ[[x86-64|64-bit computing]] ในโปรเซสเซอร์เริ่มมีความสำคัญน้อยลง . และการปรับปรุงบางอย่างจะเกิดขึ้นเพียงบางส่วนในการออกแบบสถาปัตยกรรม, และเปลี่ยนเป้าหมายจากการทำตลาดทั่วไปลงไปสู่การทำการตลาดโปรเซสเซอร์ที่มีราคาประหยัดลงมา.ในปี 2008, เอเอ็มดีก็ได้เริ่มวางตลาด เซมพรอนแบบดูอัลคอร์ โดยในช่วงแรกวางขายในเฉพาะในประเทศจีน, โดยมีชื่อเรียกทางการตลาดว่า เซพพรอน 2000 ซีรีส์, มาพร้อมกับ ไฮเปอร์ทรานสปอร์ตรุ่นเล็ก และ L2 cache ที่น้อยลง. ดังนั้นจึงทำให้เอเอ็มดีมีกลุ่มผลิตภัณฑ์โปรเซสเซอร์แบบดูอัลคอร์ สำหรับแต่ละเซ็กเมนต์ตลาด.
 
หลังจากที่ยุคของ K8 ก็มี [[AMD K10|K10]] เข้ามาแทน.ในวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2007 , เอเอ็มดีก็ได้จำหน่ายโปรเซสเซอร์ K10 ตัวแรกโดยมีวางจำหน่ายต่อจากโปรเซสเซอร์ออพเทอรอนยุคที่ 3 ซึ่งมีสี่แกนประมวลผล. เรียกกันว่า [[ฟีน่อม (โปรเซสเซอร์)|ฟีน่อม]] ซึ่งเป็นโปรเซสซอร์สำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล. สถาปัตยกรรมโปรเซสเซอร์แบบ K10 นั้นออกแบบมาให้เหมาะสมสำหรับหน่วยประมวลผลแบบ ดูอัลคอร์ ทริปเปิ้ลคอร์ และ คอว์ดคอร์,<ref>[http://www.amd.com/us-en/Corporate/VirtualPressRoom/0,,51_104_543~120741,00.html AMD announcement]. Retrieved September 17, 2007.</ref> , โดยที่ทุกแกนประมวลผลนั้นอยู่บน Die เดียวเท่านั้น. ขณะเดียวกันเองเอเอ็มดีก็ได้วางจำหน่ายแพลตฟอร์มใหม่ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "[[AMD Spider|สไปเดอร์]]", ซึ่งหมายถึงการทีในคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมี โปรเซสเซอร์ฟีน่อม, ชิปกราฟิก R770 และชิปเซ็ต790 GX/FX จาก [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 700]].
 
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009, เอเอ็มดีได้จำหน่ายซีพียูรุ่นใหม่คือ [[ฟีน่อม II]],ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีพื้นฐานมาจาก [[ฟีน่อม (โปรเซสเซอร์)|ฟีน่อม]] ซึ่งใช้การผลิตแบบ 45 นาโนเมตร (รุ่นก่อนหน้าใช้การผลิตแบบ 65 นาโนเมตร). และมีชื้อแพลต์ฟอร์ตใหม่ว่า, “[[เอเอ็มดี ดราก้อน|ดราก้อน]]”, ซึ่งในพลตฟอร์มนั้นต้องประกอบด้วยโปรเซสเซอร์ฟีน่อม II, ชิปกราฟิก R770 และชิปเซ็ต790 GX/FX จาก [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 700]]. โดยฟีน่อม II นั้นวางจำหน่ายทั้งในแบบ ดูอัลคอร์ ทริปเปิ้ลคอร์ และ คอว์ดคอร์ ที่อยู่บน die เดียวกัน, โดยที่บางคอร์นั้นถูกปิดลงเพื่อใช้จำหน่ายเป็นรุ่นแบบ ดูอัลคอร์ ทริปเปิ้ลคอร์ . ฟีน่อม II นั้นได้แก่ปัญหาบางส่วนที่พบใน ฟีน่อม,อาทิเช่น สัญญาณนาฬิกาที่มีความเร็วต่ำเกินไป , L3 cache ที่มีน้อยและบักของเทคโนโลยี [[คูลแอนด์'ควายเอ็ด]] ซึ่งเป็นข้อผิดพลาดที่ทำให้ประสิทธิภาพของโปรเซสเซอร์นั้นลดลง. โดยได้วางขายในระดับเดียวกับ [[คอร์ทู]] ควอร์ จากอินเทล. ฟีน่อม II นั้นได้เพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยความคุมความจำจากฟีน่อมรุ่นแรก,ซึ่งทำให้สามารถใช้แรมแบบ [[DDR3]] ได้ในซ๊อกเก็ตใหม่ คือ [[AM3]], รวมไปถึงยังรองรับซ๊อกเก๊ตแบบเก่าคือ [[AM2+]], ซึ่งในซ๊อกเก็ตนั้นใช้กับฟีน่อมรุ่นแรก,และสามารถใช้แรมแบบ [[DDR2 SDRAM|DDR2]] ได้อีกด้วย.
 
ในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 2010 เอเอ็มดีก็ได้วางแผง ฟีน่อม II แบบเฮ็กซ์ซาร์คอร์ (6-คอร์) ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "ทูบาน".ซึ่งมีพื้นฐานมาจากออพเทอรอนแบบเฮ็กซ์ซาร์คอร์ ที่มีชื่อเรียกว่า “อิสตันบูล” . และในโปรเซสเซอร์ใหม่นี้ก็มีความสามารถใหม่อย่าง เอเอ็มดี เทอร์โบคอร์,ซึ่งจะปรับการทำงานตามสภาพแวดล้อมการใช้งานของโปรเซสเซอร์ และเพิ่มสัญญาณนาฬิกาให้เร็วกว่าสัญญาณนาฬิกาเดิมถ้าสภาพแวดล้อมนั้นมีการทำงานหนัก . และยังได้เพิ่มแพลตฟอร์มใหม่ก็คือ ”[[เอเอ็มดี ลีโอ|ลีโอ]]”, ซึ่งประกอบไปด้วยฟีน่อม II แบบเฮ็กซ์ซาร์คอร์, [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 800]] และชิปกราฟิกจาก ATI คือ “Cypress” ซึ่งเป็นหน่วยประมวลผลจาก [[อีเวอร์กรีน (ตระกูลหน่วยประมวลผลกราฟิก)]] .
 
=== ฟิวชั่น, บ๊อบแคท และ บูลโดเซอร์ ===
{{Main|เอเอ็มดี เอพียู|บูลโดเซอร์|บ๊อบแคท}}
หลังจากการควบรวมกิจการกันของ เอเอ็มดีและเอทีไอ, ก็ได้เกิดโปรเซสเซอร์ชิ้นหนึ่งซึ่งมีชื่อเรียกเล่นว่า ''[[เอเอ็มดี ฟิวชั่น|ฟิวชั่น]]'' ซึ่งเป็นโปรเซสเซอร์ที่มีแนวคิดที่จะรวม ซีพียู และ จีพียู ไว้บนชิปเดียวกัน,ซึ่งประกอบด้วย [[PCI Express]] 16 เลน เชื่อมกับ PCI Express ที่อยู่ภายนอกโดยทำงานแยกกัน (จีพียูซึ่งอยู่บนตัวซีพียูความเร็ว X16 และสล๊อตบนเมนบอร์ดจะมีความเร็ว X16 เหมือนเดิม ไม่ไปลดการทำงานของกันและกัน) , ซึ่งที่จะทำได้นั้นต้องการชิป [[นอร์ทบริดจ์ (คอมพิวเตอร์)|นอร์ทบริดจ์]]ระดับสูง ที่เข้ากับเมนบอร์ด.โดยการทำงานของเอพียูคำสั่งดั้งเดิมจะถูกแบ่งไปให้ซีพียูทำงาน ส่วนการประมวลผลในงานบางอย่างจะถูกแบ่งไปที่จีพียู (เช่น. การประมวลผล [[ทศนิยม]] ), เมื่อทำการเหมาะกับการคำนวณต่างๆ เช่น การประมวลผล [[ทศนิยม]] ได้นั้น ก็ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น. หน่วยประมวลแบบหลอมรวมกัน คือ เอพียู. <ref name="APU">{{cite web| url=http://arstechnica.com/business/news/2010/02/amd-reveals-fusion-cpugpu-to-challege-intel-in-laptops.ars| title=AMD reveals Fusion CPU+GPU, to challege Intel in laptops| first=Jon| last=Stokes| publisher=Ars Technica| date=February 8, 2010| accessdate=February 9, 2010| archiveurl=http://web.archive.org/web/20100210011231/http://arstechnica.com/business/news/2010/02/amd-reveals-fusion-cpugpu-to-challege-intel-in-laptops.ars| archivedate= 10 February 2010 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref>
 
ไลโน่เป็น เอพียูตัวที่สองที่วางขายในตลาด ,<ref name="Hruska">{{cite web | url=http://hothardware.com/News/AMD-FlipFlops-Llano-Later-Bobcat-Bounding-Forward/ | title=AMD Flip-Flops: Llano Later, Bobcat Bounding Forward | date=July 16, 2010 | first=Joel | last=Hruska | publisher=[[HotHardware]]}}</ref>ซึ่งทำตลาดในระดับที่มีกำลังซื้อปานกลาง.<ref name="APU"/> ซึ่งเป็นโปรเซสเซอร์ที่มี ซีพียู และ จีพียูอยู่บน die เดียวกัน, และไลโน่ยังสามารถทำงานกับ [[นอร์ทบริดจ์ (คอมพิวเตอร์)|นอร์ทบริดจ์]]ได้อย่างดี, และยังทำงานบนซ๊อกเก็ตใหม่ของเอเอ็มดีอย่าง "''[[ซ๊อกเก็ต เอฟเอ็ม 1]]''" ซึ่งซ๊อกเก็ตนี้ทำงานร่วมกับแรมแบบ [[DDR3]] . แต่ไลโน่ยังไม่ได้ใช้โปรเซสเซอร์ใหม่อย่างบูลโดเซอร์แต่อย่างใด ไลโน่ใช้ซีพียูที่มีสถานปัตยกรรมมาจากฟีน่อม II (ชื่อเรียก เดเนบ) ซึ่งเป็นหน่วยประมวลผลที่สูงสุดของเอเอ็มดีในขนาดนั้น และนำมาลดขนาดการผลิตซีพียูจาก 45 นาโนเมตร เป็น 32 นาโนเมตร. ในวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 2011, เอเอ็มดีได้รายงานว่าในไตรมาสที่ 3 ของปี 2011 บริษัทได้โอกาสที่จะสร้างรายได้ 10 เปอร์เซ็น จากการที่ ไลโน่มีปัญหาในการผลิตแบบ 32 นาโนเมตร,เพราะว่าโรงงานนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับการผลิตแบบ 32 นาโนเมตร.<ref>Jeffrey Burt, eWeek. "[http://www.eweek.com/c/a/Desktops-and-Notebooks/AMD-Cuts-Q3-Forecast-Due-to-Chip-Manufacturing-Problems-581901/ AMD Cuts Q3 Forecast Due to Chip Manufacturing Problems]". September 28, 2011. Retrieved October 7, 2011.</ref>
 
''บูลโดเซอร์'' คือซีพียูสำหรับเซิฟเวอร์และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของ แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์' (เอเอ็มดี) ซึ่งวางจำหน่ายเมื่อ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011. โดยสถาปัตยกรรมใน [[รายชื่อซีพียูของเอ็มดี#ตระกูล x86|ซีพียูตระกูล K15]] นี้เป็นรุ่นต่อจากสถาปัตยกรรมซีพียู (K10) ที่ใช้การออกแบบที่มีชื่อว่า ''M-SPACE'' ในซีพียูรุ่นนี้นั้นยังออกแบบเพิ่มสิ่งที่มีในซีพียูก่อนหน้าเข้าไปในซีพียู (อาทิเช่นค่ำสั่งบางส่วนจากชุดคำสั่ง SSE 5).<ref>{{citation|url=http://www.techpowerup.com/138328/Bulldozer-50-Faster-than-Core-i7-and-Phenom-II.html |title=Bulldozer 50% Faster than Core i7 and Phenom II|publisher=techPowerUp |date= |accessdate=2012-01-23}}</ref>โดยอัตราการใช้พลังงานในแต่ละซีพียูจะอยู่ระหว่าง 10-125 [[วัตต์]] ในมาตรฐาน [[การออกแบบการใช้พลังงาน|TDP]] ของผลิตภัณฑ์. เอเอ็มดีอ้างว่าหน่วยประมวลผลนี้จะให้ประสิทธิภาพต่อพลังงานได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยอ้างจากการทดสอบในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูงและบูลโดเซอร์
 
''บ๊อบแคท ''เป็นโปรเซสเซอร์ล่าสุดที่ออกแบบมาสำหรับคอมพิวเตอร์ที่ราคาถูกและใช้หลังงานน้อยโดยมันถูกเปิดเผยครั้งแรกจากการให้สัมภาษณ์ของ เฮนรี่ ริชาร์ด ในงาน [[คอมพิวเท็กซ์]] ปี 2007 และวางจำหน่ายในฐานะผลิตภัณฑ์ในไตรมาสที่ 1 ปี 2011.<ref name="Hruska"/> โดยบุคคลที่เป็นกำลังหลักในการสนับสนุนนี้คือรองประธานบริษัท [[มาริโอ้ เอ. ริวาส]] ได้ให้สัมภาษณ์ไว้ว่าเป็นเรื่องยากที่จะแข่งขันในตลาดที่ใช้ไฟ 1-10 วัตต์และซีพียูมีแกนประมวลผลเดี่ยว ดังนั้นพวกเขาจึงได้มุ่งเน้นที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ซีพียูแบบแกนเดี่ยวที่ใช้ไฟ 1-10 วัตต์ออกมา ผลลัพธ์ที่ได้โปรเซสเซอร์ที่ประหยัดพลังงานมากๆ และถ้านำเข้าไปในมือถือก็สามารถใช้ไฟต่ำกว่า 1 วัตต์ได้.
 
=== ชิปจากสถาปัตยกรรม ARM ===
เอเอ็มดีตั้งใจที่จะวางจำหน่ายชิปที่ใช้สถาปัตยกรรมของ [[ARM architecture|ARM]] ในปี 2014 โดยชิปนี้จะถูกใช้ในเซิฟเวอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้พลังงานต่ำ เพื่อทดแทนชิป X86 ซึ่งเสียส่วนแบ่งการตลาดไปมากและใช้ในเซิฟเวอร์ของธุรกิจต่างๆ<ref name=vance2012>{{Citation|author=Ashlee Vance |publication-date=October 30, 2012 |title=AMD Finds the Courage for Another Server Chip Gambit |magazine=[[Bloomberg Businessweek]] |at=businessweek.com |url=http://www.businessweek.com/articles/2012-10-30/amd-finds-the-courage-for-another-server-chip-gambit |accessdate=October 31, 2012 }}</ref>
 
== ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ==
=== ผลิตภัณฑ์ด้านกราฟิก ===
 
{{See also|ตารางเปรียบเทียบกราฟิกการ์ดของเอเอ็มดี|ตารางเปรียบเทียบชิปเซ็ตของเอเอ็มดี}}
 
นอกจากการผลติโปรเซสเซอร์ประมวลผล เอเอ็มดีนั้นยังมีผลิตภัณฑ์หน่วยประมวลผลด้านกราฟิกในตลาดสำหรับลูกค้าทั่วไป,มืออาชีพ และหน่วยประมวลผลสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับสูงอีกด้วย
 
* '''[[เรเดียน (ซอฟต์แวร์)|เรเดียน]]''' เป็นการ์ดหน่วยประมวลผลกราฟิก 3 มิติ. '''[[เรเดียน (ซอฟต์แวร์)|โมบิล เรเดียน]]''' คือการ์ดหน่วนระมวลผลกราฟิกที่ออกแบบมาให้ประหยัดพลังงานจากเรเดียนเดิม โดยใช้ในคอมพิวเตอร์แบบพกพาทั่วไป. โดยมีนวัตกรรมภายในประกอบไปด้วยแรมของหน่วยประมวลผลกราฟิก,ตัวโค๊ดเร่งการประมวลผลของ [[DVD]] (MPEG2) , ช่องใส่จีพียูในคอมพิวเตอร์แบบพกพา,และเทคโนโลยีจัดการพลังงาน. ล่าสุดเอเอ็มดีประกาศว่าหน่วยประมวลผลกราฟิกเรเดียนในคอมพิวเตอร์พกพานั้นรองรับมาตรฐาน DirectX 11.1 แล้วด้วย.<ref>{{cite web|url=http://news.techworld.com/mobile-wireless/3209713/amd-launches-directx-11-graphics-chips-for-laptops/|title=AMD launches DirectX 11 graphics chips for laptops|date=2010-01-08| publisher=techworld.com|accessdate=2010-01-08}}</ref>
* '''ไฟร์โปร''' เป็นผลิตภัณฑ์สำหรับการออกแบบในเชิงธุรกิจที่การ์ดทั่วไปไม่สามารถประมวลผลให้ละเอียดได้ มีคำสั่งเฉพาะในการประมวลผล. มีพื้นฐานมาจากเรเดียน,โดยมาทำการตลาดแทนไฟล์-จีเอล ที่ใช้ทำงานเกี่ยวกับ CAD/CAM , และ ไล์-เอ็มวี ที่ใช้ทำงานเกี่ยวกับการประมวลผลกราฟิกแบบ 2 มิติ.
* '''[[ไฟล์สตรีม]]'''เป็นหน่วนประมวลผลแบบสตรีม ซึ่งออกแบบมาจากการใช้ จีพียูทำงานหนัก สำหรับการประมวลผล [[Floating point|floating-point]] ซึ่งใช้กันมากในโรงงานอุตสาหกรรม,ในการคำนวณที่ใช้คอมพิวเตอร์ระดับสูง, ในด้านวิทยาศาสตร์, และด้านการเงิน
* '''อายฟินิตี้''' – เป็นเทคโนโลยีที่ใช้หน้าจอ 6 เครื่องขึ้นไปในการแสดงผลจากหน่วยประมวลผลกราฟิกชิ้นเดียว.
* '''อายสปีด''' – เป็นเทคโนโลยีที่เพิ่มประสบการณ์ในการเล่นเกมโดยเพิ่มความสมจริง หน่วยปัญญาประดิษฐ์ ฟิสิกส์ในเกม และอื่นๆอีกมากมาย.
 
[[แคททาลีส]] เป็นชื่อเรียกไดร์เวอร์ควบคุมการทำงานการ์ดจอ ซึ่งมีใน [[ไมโครซอฟท์ วินโดวส์]], [[แม็คโอเอส]], และ [[ลินุกซ์]]. ในลินุกซ์นั้นไดร์เวอร์จะเป็นแบบโอเพ่นซอร์ส ที่สนับสนุนการพัฒนาจากเอเอ็มดี. โดยที่ชุมชุผู้ใช้ลินุกซ์ภายนอกนั้นสามารถนำไดร์เวอร์ไปปรับปรุงให้เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ของตนได้ ไม่มีค่าใช้จ่ายแต่อย่างไร.
 
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา เอเอ็มดี ก็ได้ร่วมมือกับนักพัฒนาใมนการพัฒนาไดร์เวอร์ฟรี, แต่ในส่วนของซอฟต์แวร์ แคททาสิสนั้นไม่ฟรี. โดยที่นักพัฒนานั้นได้พัฒนาคุณสมบัติต่างๆสำหรับชิปเซ็ต หลายๆครั้ง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่วิเศษ ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นมาจากเดิมหลายเท่าตัว, จนตอนนี้นั้นพวกเขาได้หยุดการสนับสนุนไดร์เวอร์ฟรีไปแล้ว. หลังจากที่ได้มอบสเป็คต่างๆออกไปยังชุมชนนักพัฒนา, ต่อจากนั้นเอเอ็มดีก็ได้เริ่มพัฒนาไดร์เวอร์โอเพ่นซอร์สตัวใหม่ , โดยจ้างพนักงานบางคนเข้ามารับผิดชอบในการทำไดร์เวอร์ใหม่นี้อีกด้วย.<ref name="ubuntugamer">[http://www.ubuntugamer.com/2011/01/ubuntu-graphics-driver-overview/# An overview of graphic card manufacturers and how well they work with Ubuntu] Ubuntu Gamer, January 10, 2011 (Article by Luke Benstead)</ref>{{ลิงก์เสีย|date=ธันวาคม 2554}}
 
== ชิปเซตของ เอเอ็มดี ==
{{See also|ตารางเปรียบเทียบชิปเซ็ตของเอเอ็มดี}}
 
หลังจากที่วางจำหน่าย แอททอล์น 64 ในปี ค.ศ. 2003, เอเอ็มดีก็ได้ออกแบบชิปเซ็ต สำหรับโปรเซสเซอร์ของพวกเขาหลังจากยุคของ สถาปัตยกรรม [[AMD K6|K6]] และ [[AMD K7|K7]] . โดยชิปเซ็ตนี้ได้แก่ชิปเซ็ต AMD-640, ชิปเซ็ต AMD-751 และชิปเซ็ต AMD-761 .แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ในปี 2003 ณ ขณะหลังจากวางขาย [[แอททอล์น 64]] , ทำให้เอเอ็มดีนั้นเลือกที่จะไม่ออกแบบชิปเซ็ตของตัวเองและอนุญาตให้ผู้ผลิตรายอื่นๆออกแบบชิปเซ็ตของตัวเองได้ แต่ต้องเปิดเผยการทำงานให้กับเอเอ็มดี. ทำให้ได้ “[[สถาปัตยกรรมการควบคุมแบบเปิด]]” จาก [[เอทีไอ]], [[เวีย เทคโนโลยี|เวีย]] และ [[ซิส]] ได้พัฒนาชิปเซ็ตของตนเองสำหรับ [[แอททอล์น 64]] ,[[แอททอล์น 64 X2]] และ [[แอททอล์น 64 FX]] ,และชิปเซ็ตจาก เอ็นวีเดียสำหรับ [[AMD Quad FX platform|Quad FX platform]].
 
สถานการณ์เดียวกันนี้ทำให้เอเอ็มดีเลือกที่จะหยุดพัฒนาชิปเซ็ตสำหรับโปรเซสเซอร์ของเซิฟเวอร์อย่าง [[ออพเทอรอน]] ในปี 2004 หลังจากชิปเซ็ต AMD-8111, และทำให้เอเอ็มดีนั้นเลือกที่จะไม่ออกแบบชิปเซ็ตของตัวเองและอนุญาตให้ผู้ผลิตรายอื่นๆออกแบบชิปเซ็ตของตัวเองได้ แต่ต้องเปิดเผยการทำงานให้กับเอเอ็มดี. ทุกวันนี้, [[เอ็นวีเดีย]] และ [[บรอดคอม]] ยังจำหน่ายชิปเซ็ตที่ใช้กับโปรเซสเซอร์บนเซิฟเวอร์อย่าง ออพเทอรอน.
 
หลังจากที่เข้าซื้อกิจการของ เอทีไอ เทคโนโลยี ในปี 2006 ทำให้บริษัทได้ทีมออกแบบชิปเซ็ตที่ได้ออกแบบ ชิปเซ็ตรุ่นก่อนหน้าอาทิเช่น [[เอ๊กซ์เพรส 200|เรเดียน เอ๊กซ์เพรส 200]] และ [[เอ๊กซ์เพรส 3200|เรเดียน เอ๊กซ์เพรส 3200]]. เอเอ็มดีได้เปลี่ยนชื่อชิปเซ็ตสำหรับใช้กับโปรเซสเซอร์ของบริษัทให้เป็น เอเอ็มดีทั้งหมด (ชิปเซ็ตครอสไฟล์ เอ๊กซ์เพรส 3200 ถูกเปลี่ยนเป็น [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 580|เอเอ็มดี 580X ครอสไฟล์]]). ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2007I, เอเอ็มดีได้เปิดตัวชิปเซ็ตภายใต้แบรนด์ของตัวเองเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2004 พร้อมกับวางจำหน่ายชิปเซ็ต [ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 690|690G]] (ก่อนหน้านั้นพัฒนาโดยมีชื่อเล่นเรียกกันว่า ''RS690''), โดยมาพร้อมกับ [[หน่วยประมวลผลกราฟิกฝังในตัว|IGP]].ซึ่งเป็นชิปเซ็ตตัวแรกในวงการที่ใช้พอร์ต [[HDMI]] 1.2 บนเมนบอร์ด, โดยมียอดจำหน่ายมากกว่า 1 ล้านชิ้น. และยังมุ่งเป้าแข่งขันกับชิปเซ็ต อินเทล IGP , โดยการใช้ชิป [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 690#เรเดียนเอ๊กเพรส 1250|เรเดียน เอ๊กเพรส 1250]] (มีชื่อเรียกว่า ''RS600'', ขายภายใต้แบรนด์ ATI) โดยการขายให้กับผู้ผลิตอย่าง, Abit และ ASRock. โดยขณะที่เอเอ็มดีผลิตเซ็ตนี้, อินเทลยังไม่ได้อนุญาตให้ ATI ใช้งาน FSB ความเร็ว {{nowrap|1333 MHz}} .
 
ในวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007, เอเอ็มดีได้เปิดตัวชิปเซ็ตซีรีส์ใหม่ คือ [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 700|ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 7XX]], ซึ่งทำตลาดตั้งแต่ผู้ใช้ที่ต้องการการเชื่อมต่อการ์ดประมวลผลกราฟิกหลายใบ จนไปถึงผู้ใช้ที่ต้องการความประหยัดโดยการมีหน่วยประมวลผลกราฟิกฝังอยู่ในเมนบอร์ด, โดยมาทดแทน [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 580|ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 470/570/580]] และ [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 690]], โดยเป็นครั้งแรกที่เอเอ็มดีมีชิปเซ็ตที่สามารถใส่การ์ดประมวลผลกราฟิกหลายใบ.โดยชิปเซ้ตนี้วางขายในวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 โดยเป็นส่วนหนึ่งของแพลตฟอร์ม ''สไปเดอร์'', ส่วนชิปเซ็ตที่มีหน่วยประมวลผลกราฟิกฝังอยู่ในเมนบอร์ด ได้วางจำหน่ายภายหลังฤดูฝน ปี 2008 เป็นส่วนหนึ่งของแพลตฟอร์ม ''คาร์ทวิลล์'' .
 
เอเอ็มดีกลับมาทำตลาดชิปเซ็ตของเซิฟเวอร์อีกครั้งพร้อมกับชิปเซ็ต [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 800|ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 800 สำหรับเซิฟเวอร์]]. โดยมันสนับสนุน[[ซีเรียล เอทีเอ#ซาต้า รุ่น 3.0 (ซาต้า 6Gb/s)|ซาต้า 6.0 จิกะบิต/วินาที]] 6 พอร์ต, สถานพลังงานแบบ C6 , พร้อมคุณสมบัติรองรับในโปรเซสเซอร์ [[เอเอ็มดี ฟิวชั่น]] และ [[AHCI]] รุ่น 1.2 พร้อม SATA ที่มีคุณสมบัติ [[port multiplier#FIS (Frame Information Structure) –based|FIS–based switching]] . โดยชิปเซ็ตนี้รองรับโปรเซสเซอร์ [[ฟีน่อม]] และ [[เอเอ็มดีแพลตฟอร์ม ควอร์ด เอฟเอ๊กซ์]] (890FX), [[Iหน่วยประมวลผลกราฟิกฝังในตัว|IGP]] (890GX).
 
=== แพลตฟอร์ม เอเอ็มดี คอว์ด เอฟ-เอ๊กซ์ ===
 
{{Main|แพลตฟอร์ม เอเอ็มดี คอว์ด เอฟ-เอ๊กซ์}}
 
แพลตฟอร์ม เอเอ็มดี คอว์ด เอฟ-เอ๊กซ์เป็นแพลตฟอร์มสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการความแรงมากกว่าแบบธรรมดา,โดยแพลตฟอร์มนี้จะอนุญาตให้ใช้โปรเซสเซอร์ 2 ตัวเชื่อต่อกันได้ผ่านเทคโนโลยี [[ไฮเปอร์ทรานสปอร์ต]], และยังสามารถใช้หน่ายความจำแบบ [[buffered memory]]/[[registered memory]] [[DIMM]] ที่ใช้กันในเครื่องเซิฟเวอร์ได้ด้วย, และในเมนบอร์ดสำหรับเซิฟเวอร์, สามารถติดตั้งโปรเซสเซอร์ [[แอททอล์น 64 FX]] ซีรีส์ 70 และเมนบอร์ดแบบพิเศษ .<ref>[http://cpudistro.com/amd/fx-4130/ AMD FX-4130 Benchmark]</ref> เอเอ็มดีวางขายแพลตฟอร์มนี้สำหรับคนที่ต้องการและเรียกมันว่า"เมก้า ทาสก์กิ้ง",<ref>[http://www.amd.com/us-en/Corporate/VirtualPressRoom/0,,51_104_543~114483,00.html?redir=dtfx04 Official Press Release] (AMD Quad FX Platform with Dual Socket Direct Connect Architecture Redefines High-End Computing for Megatasking Enthusiasts)</ref> ซึ่งทำให้การประมวลผลในระบบเดียวกันนั้นสามารถทำได้มากขึ้น. โดยแพลตฟอร์มนี้กลับมาอีกครั้งเมื่อเปิดตัว สถาปัตยกรรม K10 และชิปเซ็ต [[ชิปเซ็ตเอเอ็มดีซีรีส์ 700]] , โดยมีชื่อเล่นเรียกว่า "''FASN8''".
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|AMD}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.amd.com/ AMD Corporate web site]
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:บริษัทคอมพิวเตอร์|อเอ็มดี]]
[[หมวดหมู่:บริษัทของสหรัฐอเมริกา]]