ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มันผิดครับ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ผิดครับ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|||บาลี (แก้ความกำกวม)}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = บาลี
| nativename = Pāli
| pronunciation = [paːli] ''ปาลิ''
| states = [[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]] [[ประเทศพม่า|พม่า]] [[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]]
| familycolor = Indo-European
| fam2 = [[อินโด-อิเรเนียน]]
| fam3 = [[อินโด-อารยัน]]
| script = ไม่มีอักษรเฉพาะแน่ชัด แต่มีบันทึกใน [[อักษรพราหมี]] [[อักษรเทวนาครี]] รวมถึง [[อักษรล้านนา]] [[อักษรขอม]] [[อักษรไทย]] [[อักษรมอญ]] [[อักษรโรมัน]]
| extinct = ไม่มีผู้ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่มีการใช้ในวรรณกรรมและการศึกษา
| notice = Indic
| iso1 = pi |iso2=pli |iso3=pli
}}
'''บาลี''' ({{lang-pi|ปาลิ}}; {{lang-sa|पाळि}} ปาฬิ); ({{lang-en|Pali}}) เป็น[[ไวยากรณ์]]ที่เก่าแก่แขนงหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป ([[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน|อินโด-ยูโรเปียน]]) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน ([[อินโด-อิเรเนียน]]) ซึ่งจัดเป็น[[ภาษาปรากฤต]]ภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึก[[คัมภีร์]]ใน[[พระพุทธศาสนา]]นิกาย[[เถรวาท]] (มี [[พระไตรปิฎก]] เป็นต้น) โดยมีลักษณะทาง[[ไวยากรณ์]] และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับ[[ภาษาสันสกฤต]] ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น [[อักษรพราหมี]] [[อักษรเทวนาครี]] จนถึง [[อักษรล้านนา]] [[อักษรขอม]] [[อักษรไทย]] [[อักษรมอญ]] แม้กระทั่ง[[อักษรโรมัน]] (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้
 
อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี
 
== กำเนิดและพัฒนาการ ==
ชื่อเรียกภาษานี้ คือ '''ปาลิ''' ([[อักษรโรมัน]] : Pāli) นั้น ไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจน และเป็นที่ถกเถียงเรื่อยมาโดยไม่มีข้อสรุป เดิมเป็นภาษาของชนชั้นต่ำ สำหรับชาวพุทธโดยทั่วไปเชื่อว่า ภาษาบาลีมีกำเนิดจากแคว้นมคธ ใน[[ชมพูทวีป]] และเรียกว่าภาษามคธ หรือภาษามาคธี หรือมาคธิกโวหาร ซึ่ง "มาคธิกโวหาร" พระพุทธโฆสาจารย์พระอรรถกถาจารย์นามอุโฆษมีชีวิตอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 10 อธิบายว่าเป็น "สกานิรุตติ" คือภาษาที่พระพุทธเจ้าตรัส<ref>[http://board.palungjit.com/f45/ความเป็นมาของพระไตรปิฎก-ตอนที่-76-a-64720.html#post430249 ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ตอนที่ 76]. คอลัมน์ ธรรมะใต้ธรรมมาสน์ โดย ไต้ ตามทาง. เรียกข้อมูลเมื่อ 14-6-52</ref>