ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไต้หวัน"
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ข้อมูลที่ถูกต้องของเขตบริหารพิเศษไต้หวันในปัจจุบัน |
||
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{hatnote|สำหรับความหมายอื่น ดู [[ไต้หวัน (แก้ความกำกวม)]] และ[[สาธารณรัฐจีน (แก้ความกำกวม)]]}}
{{ธงชาติ และธงประจำเขตปกครอง|เขตบริหารพิเศษไต้หวัน แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน=}}
{{มีอักษรจีน}}
'''เกาะไต้หวัน''' ([[:en:Pe̍h-ōe-jī|แป่ะเอ๋ยี้]]: Tâi-oân; ''ไต่อวัน'') หรือ '''ไถวาน''' ({{lang-roman|Taiwan}}; {{zh-all|t=臺灣/台灣|s=台湾|p=Táiwān}}; ''ไถวาน'') เป็นเขตปกครองตนเองพิเศษ แห่งสาธารณะรัฐประชาชนจีน
เกาะไต้หวันด้านตะวันตกติดกับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน|จีนแผ่นดินใหญ่]] ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] และด้านใต้ติดกับ[[ประเทศฟิลิปปินส์|ฟิลิปปินส์]] กรุง[[ไทเป]]เป็น
เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของ
== ภูมิศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ภูมิศาสตร์ไต้หวัน}}
'''
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก}}
=== ก่อนประวัติศาสตร์ ===
{{บทความหลัก
{{โครง-ส่วน}}
บรรทัดที่ 113 ⟶ 29:
ในปี [[พ.ศ. 2169]] (ค.ศ. 1626) ชาวสเปนเดินทางมาถึงและได้เข้ายึดครองบริเวณทางตอนเหนือของไต้หวัน ที่ท่าเรือของ[[นครจีหลง]]และบริเวณชายฝั่งของ[[นครซินเป่ย์]]ในปัจจุบัน เพื่อเป็นฐานในการขยายการค้า กลายเป็นยุคอาณานิคมของสเปนอยู่ 16 ปีจนกระทั่ง [[พ.ศ. 2185]] (ค.ศ. 1642) เมื่อป้อมปราการสุดท้ายของสเปนถูกกองทัพเนเธอร์แลนด์เข้าตีได้สำเร็จ
=== ราชวงศ์ชิง ===
บรรทัดที่ 124 ⟶ 38:
=== จักรวรรดิญี่ปุ่น ===
{{บทความหลัก|สาธารณรัฐฟอร์โมซา|ไต้หวันในความปกครองของญี่ปุ่น}}
=== หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ===
{{บทความหลัก|ไต้หวันภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2}}
บรรทัดที่ 140 ⟶ 52:
=== พรรคก๊กมินตั๋งเรืองอำนาจ ===
{{บทความหลัก|สงครามกลางเมืองจีน|การปฏิวัติคอมมิวนิสต์จีน||}}
ในปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ก่อนที่นายพล [[เจียง ไคเช็ก]] (General Chiang Kaishek) ([[ภาษาจีน]]:蔣中正) จะถึงอสัญกรรมไม่กี่ปี สาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นประเทศที่ร่วมก่อตั้ง[[องค์การสหประชาชาติ]]ได้สูญเสียสมาชิกภาพในฐานะตัวแทนชาวจีนให้กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี [[พ.ศ. 2521]] (ค.ศ. 1978) สหประชาชาติก็ประกาศรับรองจีนเดียวคือจีนแผ่นดินใหญ่และตัดสัมพันธ์ทางการเมืองกับสาธารณรัฐจีน ทั้งสหรัฐอเมริกาก็ได้ถอนการรับรองว่าสาธารณรัฐจีนมีฐานะเป็นรัฐ ไต้หวันจึงกลายเป็นเพียงดินแดน
== การปกครอง ==
การปกครอง
การปกครองนั้นแบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย เรียกว่า "สภา" (yuan) คือ [[สภาบริหาร]] (Executive Yuan) ได้แก่ คณะรัฐมนตรีและฝ่ายบริหารทั้งสิ้น, [[สภานิติบัญญัติไต้หวัน|สภานิติบัญญัติ]] (Legislative Yuan), [[สภาตุลาการ]] (Judicial Yuan), [[สภาควบคุม]] (Control Yuan) เป็นฝ่ายตรวจสอบ, และ[[สภาสอบคัดเลือก]] (Examination Yuan) มีหน้าที่จัดสอบคัดเลือกข้าราชการ
=== บริหาร ===
ผู้ว่าเกาะไต้หวัน(เขตปกครองตนเองพิเศษ) มาจากการเลือกตั้ง อยู่ในตำแหน่งวาระ 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระ มาและไปพร้อมกับรองผู้ว่า ผู้ว่าเขตปกครองคนปัจจุบัน คือ [[ไช่ อิงเหวิน]] เธอเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (民主進步黨) คนปัจจุบัน และเป็นตัวแทนของพรรคเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งเมื่อปี 2016 ตำแหน่งซึ่งเธอพลาดไปในการเลือกตั้งปีเมื่อปี 2012 นอกจากนี้ เธอยังเคยเป็นหัวหน้าพรรคมาแล้วหนึ่งสมัยในช่วงปี 2008 ถึง 2012
=== นิติบัญญัติ ===
สภานิติบัญญัตินั้นใช้ระบบสภาเดียว มีสมาชิก 113 คน 73 คนมาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยระบบแบ่งเขต 34 คนมาจากการเลือกตั้งของพรรคการเมืองตามระบบสัดส่วน ที่เหลือ 6 คนนั้นมาจากการเลือกตั้งตามเขตชนพื้นเมือง 23 เขต สมาชิกสภานิติบัญญัติอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี แต่ก่อนยังมี[[สมัชชาแห่งชาติ (ไต้หวัน)|สมัชชาแห่งชาติ]]ทำหน้าที่เป็น[[คณะผู้เลือกตั้ง]]และ[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]] ทั้งยังมีอำนาจนิติบัญญัติบางประการด้วย แต่ภายหลังสมัชชานี้ยุบเลิกไปในปี 2005 อำนาจหน้าที่ของสมัชชาก็โอนต่อไปยังสภานิติบัญญัติและผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งแสดงออกด้วยประชามติแทน<ref name="yb:government"/>
นายกรัฐมนตรีมาจากการสรรหาของ
<br />
=== ตุลาการ<ref>{{Cite book|last=Jayasuriya|first=Kanishka|title=Law, capitalism and power in Asia|publisher=Routledge|year=1999|page=217|url=https://books.google.com/?id=OqGSrD9QhXcC&pg=PA217|isbn=978-0-415-19743-4}}</ref> ===
สำหรับฝ่ายตุลาการนั้น สภาตุลาการเป็นองค์กรสูงสุด มีอำนาจตีความรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และกฎ กับทั้งพิจารณาคดีทุกประเภท ไม่ว่าคดีปกครอง คดีรัฐธรรมนูญ หรือคดีอื่น ๆ ประธานสภาตุลาการ รองประธานสภาตุลาการ และตุลาการอื่นอีก 13 คน ประกอบกันเป็น "ที่ประชุมใหญ่ตุลาการ" (Council of Grand Justices)<ref>{{cite wikisource |title=Additional Articles of the Constitution of the Republic of China (2005) |at=Article 5}}</ref> ตุลาการ ณ ที่ประชุมใหญ่เหล่านี้มาจากการเสนอชื่อและแต่งตั้งของประธานาธิบดีเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ<ref name="yb:government"/>
บรรทัดที่ 198 ⟶ 88:
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
{{บทความหลัก|เขตการปกครองสาธารณรัฐจีน}}
{{แผนที่ป้ายกำกับของไต้หวัน}}ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 รัฐบาลได้ทำการเปลี่ยนแปลงการแบ่งเขตการปกครองในพื้นที่ภายใต้การบริหารควบคุมของรัฐบาล การกำหนดเขตการปกครองได้กำหนดให้[[ไทเป]]กลายเป็นเทศบาลพิเศษในปี ค.ศ. 1967 และรวมถึง[[เกาสฺยง]] ในปี ค.ศ. 1979 รัฐบาลท้องถิ่นทั้งสองมี "ความคล่องตัว" โดยมีหน้าที่ถ่ายโอนไปยังรัฐบาลกลาง (มณฑลฝูเจี้ยนในปี ค.ศ. 1956 และมณฑลไต้หวันในปี ค.ศ. 1998)<ref>{{cite news | url=http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=1465&CtNode=1347 | work=Taiwan Review | title=Gone with the Times | date=1 October 1999 | accessdate=13 April 2012 | last=Hwang | first=Jim | deadurl=yes | archiveurl=https://web.archive.org/web/20120226030251/http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=1465&CtNode=1347 | archivedate=26 February 2012 | df=dmy-all }}</ref> ในปีค.ศ. 2010 [[ซินเป่ย์]], [[ไถจง]] และ[[ไถหนาน]]ได้รับการยกระดับเป็น[[เทศบาลพิเศษ (ไต้หวัน)|เทศบาลพิเศษ]] และในปี ค.ศ. 2014 มณฑล[[เถา-ยฺเหวียน]]ก็ได้รับการยกระดับเป็นเทศบาลพิเศษด้วย การยกระดับครั้งนี้ทำให้เขตการปกครองระดับบนสุดเข้าสู่สถานะปัจจุบัน<ref name="GIO-government">{{cite web|url=http://info.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=19878&ctNode=2840&mp=21 |title=中華民國國情簡介 政府組織 |publisher=Government Information Office |location=Taipei |accessdate=13 April 2012 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20120514012002/http://info.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=19878&ctNode=2840&mp=21 |archivedate=14 May 2012 |df= }}</ref>
{|class=wikitable
บรรทัดที่ 230 ⟶ 115:
ตามมาตรา 4 ของบัญญัติการปกครองส่วนท้องถิ่นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเขตเทศบาลพิเศษยังมีผลบังคับใช้กับมณฑลที่มีประชากรเกิน 2 ล้านคน บทบัญญัตินี้ไม่ได้ใช้กับเขตใด ๆ แม้ว่าก่อนหน้านี้จะใช้กับเขต[[ไทเป]] (ปัจจุบันคือ [[ซินเป่ย์]]) และมณฑลเถา-ยฺเหวียน (ปัจจุบันคือ เทศบาลพิเศษ[[เถา-ยฺเหวียน]])
[[ไฟล์:RC (Taiwan).png|thumb|right|ประเทศที่มีการรับรองสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการ{{legend|#008000|มีความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ}}
{{legend|#0080ff|มีความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ}}|alt=A map of the world showing countries which have relations with the Republic of China. Only a few small countries recognize the ROC, mainly in Central, South America and Africa.]]
===
หลังจาก[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]ถอยหนีมาอยู่บนเกาะ[[ไต้หวัน]] ประเทศส่วนใหญ่ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนเอาไว้ แต่การรับรองสถานะก็ลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องเมื่อในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มีหลายประเทศได้เปลี่ยนไปรับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]แทน ในปัจจุบัน สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันยังคงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจาก 17 รัฐ จาก 193 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งนอกจากทำเนียบสันตะปาปาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในแถบอเมริกากลางและแอฟริกา ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]มีนโยบายที่จะไม่สานสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศที่รับรองสถานะของ'''สาธารณรัฐจีน''' และทุก[[ประเทศ]]ที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วยจะต้องมีแถลงการณ์รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]เหนือ[[ไต้หวัน]]
ในทางปฏิบัติแล้ว ถึงแม้ว่า[[ประเทศ]]ส่วนใหญ่จะไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับ[[ไต้หวัน]] และแถลงการณ์ที่ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ต้องการนั้นก็ได้เขียนขึ้นโดยใช้คำกำกวมอย่างยิ่ง [[ประเทศ]]สำคัญ ๆ บาง[[ประเทศ]]ที่ไม่ได้รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐจีน]]ก็จะมี "[[สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป]]" หรือ "สำนักงานตัวแทนไทเป" ซึ่งปฏิบัติงานต่าง ๆ ในลักษณะเดียวกับ[[สถานทูต]] เช่น การออกวีซ่า เป็นต้น และในทำนองเดียวกัน หลาย[[ประเทศ]]ก็ได้จัดตั้งสำนักงานการค้าและเศรษฐกิจขึ้นใน'''
'''สาธารณรัฐจีน'''เคยเป็นสมาชิกขององค์การ[[สหประชาชาติ]]ในฐานะสมาชิกก่อตั้ง โดยได้อยู่ในตำแหน่งของประเทศจีนใน[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีความมั่นคง]]จนกระทั่งถึงปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ที่ถูกขับออกโดย "มติสมัชชาสหประชาชาติที่ 2758 (General Assembly Resolution 2758)" และตำแหน่งทั้งหมดในองค์การ[[สหประชาชาติ]]ก็ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]
<br />
== กองทัพไม่มี ==
{{บทความหลัก|กองทัพสาธารณรัฐจีน}}
[[ไฟล์:IDF Pre-production.jpg|thumb|เครื่องบินรบ [[AIDC F-CK-1 Ching-kuo]]แห่ง[[กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน]]]]
== เศรษฐกิจ ==
{{บทความหลัก|เศรษฐกิจของไต้หวัน|ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไต้หวัน}}
=== ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ===
[[ไฟล์:Taipei, Taiwan CBD Skyline.jpg|thumb|250px|ตึก[[ไทเป 101]] ในกรุง[[ไทเป]]
[[ไฟล์:Taipei_skyline_cityscape_at_night_with_full_moon.jpg|thumb|เขตการค้าธุรกิจ[[ย่านซินยี่]] กรุงไทเป ยามค่ำคืน]]
[[ไฟล์:New Taipei City Skyline Night View Landscape.jpg|thumb|250px|เขตธุรกิจในเมือง[[ซินเป่ย์]]]]
'''เกาะไต้หวันมสาธารณรัฐประชาชนจีน'''
[[ทรัพยากรธรรมชาติ]]ส่วนใหญ่มีจำนวนน้อย แต่เป็น[[ประเทศอุตสาหกรรม]]ชั้นสูง[[อุตสาหกรรม]]นั้นเป็นเน้นไปที่การผลิต มีการนำเข้า[[น้ำมันดิบ]]และแร่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ ส่งออกไปจำหน่าย ถือเป็นการค้าโดยการผลิต ในปัจจุบันมีการนำเข้าชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
อุตสาหกรรมที่รวดเร็วและการเติบโตอย่างรวดเร็วของไต้หวันในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 ได้รับการขนานนามว่า "[[ความมหัศจรรย์แห่งไต้หวัน]]" เกาะไต้หวันถือเป็น
ภายใต้การปกครองไต้หวันแบบอาณานิคมของญี่ปุ่นก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองนำการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเอกชน, สิ่งที่เป็นที่รับรู้และมีชื่อเสียงที่สุดคือ พื้นที่ของงานสาธารณะซึ่งเปิดใช้งานการสื่อสารที่รวดเร็วและอำนวยความสะดวกการขนส่งทั่วเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นยังปรับปรุงการศึกษาของรัฐและทำให้เกิดการศึกษาบังคับสำหรับชาวไต้หวันทุกคน ในปี ค.ศ. 1945 เมื่อญี่ปุ่นได้แพ้สงครามโลกครั้งที่สองและได้คืนเกาะไต้หวันให้กับสาธารณรัฐจีน ได้เกิด[[ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวด]]ขึ้นในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันอันเป็นผลมาจากสงครามกับญี่ปุ่น เพื่อแยกไต้หวันออกจากปัญหาเศรษฐกิจในแผ่นดินใหญ่นั้น รัฐบาลจีนคณะชาติของ
รายชื่อเมืองใหญ่ใน'''เขตปกครองบริหารพิเศษไต้หวัน'''เรียงตาม[[ประชากร]]
{| class="wikitable"
บรรทัดที่ 402 ⟶ 201:
|}
<br />
===Citations===
{{รายการอ้างอิง|30em}}
บรรทัดที่ 474 ⟶ 256:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{Wikivoyage|Taiwan}}
*ที่เที่ยวไต้หวัน ข้อมูลบางส่วน จาก [https://thejourneymoment.com/travel/taiwan-10-destinations/ The journey moment]
[[หมวดหมู่:ไต้หวัน| ]]
|