ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน: แก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด
ลบข้อมูลที่ไม่จำเป็น
บรรทัด 18:
| class_range = [[มัธยมศึกษา]]ตอนต้นและปลาย <ref name="EMIS"/>
| head_name = ผู้อำนวยการ
| head = เกียรติศักดิ์ บุญรวบ <ref>ผู้อำนวยการคนปัจจุบัน. [http://www.skns.ac.th/person-detail_118889 name="ผู้อำนวยการโรงเรียนปัจจุบัน"]. ข้อมูลล่าสุด พ.ศ. 2563</ref>
| teaching_staff = 55 คน<ref>จำนวนครูบุคลากร ปีการศึกษา 2562. [http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_techer.php?School_ID=1080210784&Area_CODE=101712 สถิติจำนวนครูบุคลากรทั้งหมด]. ข้อมูลล่าสุด พ.ศ. 2562</ref> {{เทาเล็ก|2562}}
| students = 962 คน<ref>จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2562. [http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student_select.php?School_ID=1080210784&Edu_year=2562&Area_CODE=101712 สถิติจำนวนนักเรียนทั้งหมด]. ข้อมูลล่าสุด พ.ศ. 2562</ref> {{เทาเล็ก|2562}}
บรรทัด 88:
* '''ต้นไม้ประจำโรงเรียน'''[[อโศกน้ำ|ต้นอโศกน้ำ]] อโศกน้ำ โสก หรือ โสกน้ำ (Ashoka tree ชื่อวิทยาศาสตร์: Saraca asoca; บางครั้งใช้ผิดเป็น Saraca indica) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ ยาว 10-15 เซนติเมตร ใบย่อย 1-7 คู่ เรียงสลับรูปใบหอก กว้าง 2-10 เซนติเมตร ยาว 5-30 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน รูปลิ่ม แผ่นใบหนา ดอกสีส้มหรือแดง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่นที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดเรียว ยาวประมาณ1-2 เซนติเมตร บริเวณปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายมน ผลแห้งแตก เป็นฝักทรงแบน กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 6-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดรูปไข่ แบน มี 1-3 เมล็ด
อโศกน้ำนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยอดอ่อนและดอกสามารถรับประทานได้ โดยดอกมีรสเปรี้ยวอมฝาด ช่วยขับเสมหะ เปลือกต้นมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เช่น Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa และ Staphylococcus aureus ซึ่งภายในโรงเรียนจะมีต้นอโศกน้ำเติบโตให้เห็นภายในโรงเรียนมีจำนวนมาก
 
== เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ==
เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ประพันธ์ขึ้นตามพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำร้องโดย หม่อมราชวงศ์เลื่อน สิงหรา ผู้เรียบเรียงคือ สุวัฒน์ เทียมหงษ์ ทำนองจากเพลงแขกต่อยหม้อ อัตราจังหวะสองชั้น เป็นเพลงไทยเดิมที่ใช้ประกอบการแสดง ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีจังหวะการเอื้อนทำนองโดยเฉพาะ<ref name="TGV">{{cite web|title= เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย |work=ไทยกู๊ดวิวดอตคอม |url=http://www.thaigoodview.com/node/17197|accessdate=15 มกราคม พ.ศ. 2553|author=กาญจนา เตชะวณิชย์|date=18 ตุลาคม พ.ศ. 2551}}</ref><ref>{{cite web|title= บทเพลงชาวสวนฯ : เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย|work=เว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย |url=http://www.sk.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=163&Itemid=109|accessdate=15 มกราคม พ.ศ. 2553}}</ref> โดยเพลงนี้ได้ขับร้องครั้งแรกในงานรื่นเริงประจำปีพ.ศ. 2471<ref>https://www.facebook.com/1526437537574312/photos/a.1529400270611372.1073741828.1526437537574312/1939118809639514/?type=3&theater</ref>
 
== ผู้บริหาร ==