ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐกิจไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 57:
}}
 
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 [[ค่าแรงขั้นต่ำ]]ทางการทุกจังหวัดเป็น 300 บาท<ref name="BOTindicator">[http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Indicators/Docs/indicators.pdf เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจที่สำคัญ]. สืบค้น 3-9-2557.</ref> ความเหลื่อมล้ำล้ำของรายได้ในประเทศไทยถือว่าสูงสุดประเทศหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครัวเรือนที่รวยที่สุด 20% มีรายได้ครัวเรือนเกินครึ่ง [[ดัชนีจีนี]]ของรายได้ครัวเรือนอยู่ที่ 0.51 ครอบครัวรายได้น้อยและยากจนกระจุกอยู่ในภาคเกษตรกรรมอย่างมาก<ref>Bird, Kelly; Hattel, Kelly; Sasaki, Eiichi; Attapich, Luxmon. (2011). [http://www.adb.org/sites/default/files/poverty-income-inequality-microfinance-thailand.pdf Poverty, Income Inequality, and Microfinance in Thailand]. Asian Development Bank. สืบค้น 4-9-2557.</ref>
'''เศรษฐกิจไทย'''เป็นเศรษฐกิจ[[ประเทศกำลังพัฒนา|กำลังพัฒนา]][[เศรษฐกิจแบบผสม|แบบผสม]]และเป็น[[ประเทศอุตสาหกรรมใหม่]] เมื่อปี 2561 มีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงิน (ราคาตลาด) เป็นอันดับที่ 25 ของโลก มีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (พีพีพี) เป็นอันดับที่ 20 ของโลก นับว่าใหญ่สุดเป็นอันดับสองของ[[อาเซียน]] มีอัตรา[[เงินเฟ้อทั่วไป]]อยู่ที่ 1.1%<ref name="Bank of Thailand CPI"> </ref>
 
ภาคอุตสาหกรรมและบริการเป็นภาคหลักในผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย โดยภาคอุตสาหกรรมเป็นสัดส่วน 39.2% ของจีดีพี ภาคเกษตรกรรมเป็นสัดส่วน 8.4% ของจีดีพี น้อยกว่าภาคการขนส่งและการค้า ตลอดจนการสื่อสาร ซึ่งเป็นสัดส่วน 13.4% และ 9.8% ของจีดีพีตามลำดับ ภาคก่อสร้างและเหมืองแร่เป็นสัดส่วน 4.3% ของจีดีพี ภาคอื่น (ซึ่งรวมภาคการเงิน การศึกษา โรงแรมและร้านอาหาร) เป็นสัดส่วน 24.9% ของจีดีพี<ref name="Thailand at a glance"/> โทรคมนาคมและการค้าบริการกำลังกำเนิดเป็นศูนย์กลางการขยายอุตสาหกรรมและการแข่งขันทางเศรษฐกิจ<ref>http://siteresources.worldbank.org/INTTHAILAND/Resources/333200-1177475763598/3714275-1234408023295/5826366-1234408105311/chapter4-telecommunication-sector.pdf</ref><ref name="journals.cluteonline.com">http://journals.cluteonline.com/index.php/IBER/article/download/3290/3338</ref>
 
ในปี 2551 ประเทศไทยส่งข้าวออกคิดเป็นประมาณ 33% ของการค้าข้าวทั่วโลก<ref name="IRRI">[http://irri.org/our-work/locations/thailand Thailand]. IRRI. สืบค้น 4-9-2557. {{en icon}}</ref> ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางรายใหญ่ที่สุดของโลก<ref>[http://www.boi.go.th/tir/issue/201012_20_12/42.htm Thailand Leads World in Rubber Production and Advance R&D] Bank of Thailand. สืบค้น 4-9-2557.</ref> และเป็นผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่อันดับ 5 ของโลก<ref name="เอก">[http://web.archive.org/20090611003823/www.culture.go.th/knowledge/story/nation/nation.html เอกลักษณ์ประจำชาติของไทย]. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. สืบค้น 9-12-2553.</ref> ในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออก[[รายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการส่งออก|เป็นอันดับที่ 21 ของโลก]] และมีมูลค่าการนำเข้า[[รายชื่อประเทศเรียงตามกำลังในการซื้อ|เป็นอันดับที่ 25 ของโลก]] ประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ ประเทศจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ออสเตรเลีย ฮ่องกงและเกาหลีใต้<ref>[http://www2.ops3.moc.go.th/ ระบบรายงานข้อมูลการค้าระหว่างประเทศของไทย] สืบค้น 4-9-2557.</ref>
 
[[ธนาคารโลก]]รับรองประเทศไทยว่าเป็น "นิยายความสำเร็จการพัฒนาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเรื่องหนึ่ง" (one of the great development success stories) จากตัวชี้วัดทางสังคมและการพัฒนา<ref>{{cite web|title=Thailand|url=http://www.worldbank.org/en/country/thailand|publisher=World Bank|accessdate=17 July 2012}}</ref> แม้รายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ต่อหัวต่ำ คือ 5,210 ดอลล่าร์สหรัฐ<ref>http://data.worldbank.org/indicator/NY.GNP.PCAP.CD/countries/TH-4E-XT?display=graph</ref> และมี[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]] (HDI) อยู่ที่อันดับที่ 89 แต่ประชากรที่อยู่ต่ำกว่า[[เส้นความยากจน]]ลดลงจาก 65.26% ในปี 2531 เหลือ 8.6% ในปี 2559 ตามเส้นฐานความยากจนใหม่ของ[[สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]] (สศช.)<ref>{{cite web|title=ตารางที่ 1.2 สัดส่วนคนจน เมื่อวัดด้านรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค จำแนกตามภาคและพื้นที่ ปี พ.ศ. 2531-2559|url=http://social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx?reportid=669&template=2R1C&yeartype=M&subcatid=59|publisher=Office of the National Economic and Social Development Board|accessdate=21 Aug 2018}}</ref> ในไตรมาสแรกของปี 2556 อัตราว่างงานของไทยอยู่ที่ 0.7% ซึ่งน้อยเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากประเทศกัมพูชา โมนาโกและกาตาร์<ref>{{cite web|title=Unemployment Rate|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2129rank.html|publisher=CIA - The World Factbook|accessdate=17 July 2012}}</ref>
 
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 [[ค่าแรงขั้นต่ำ]]ทางการทุกจังหวัดเป็น 300 บาท<ref name="BOTindicator">[http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Indicators/Docs/indicators.pdf เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจที่สำคัญ]. สืบค้น 3-9-2557.</ref> ความเหลื่อมล้ำของรายได้ในประเทศไทยถือว่าสูงสุดประเทศหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครัวเรือนที่รวยที่สุด 20% มีรายได้ครัวเรือนเกินครึ่ง [[ดัชนีจีนี]]ของรายได้ครัวเรือนอยู่ที่ 0.51 ครอบครัวรายได้น้อยและยากจนกระจุกอยู่ในภาคเกษตรกรรมอย่างมาก<ref>Bird, Kelly; Hattel, Kelly; Sasaki, Eiichi; Attapich, Luxmon. (2011). [http://www.adb.org/sites/default/files/poverty-income-inequality-microfinance-thailand.pdf Poverty, Income Inequality, and Microfinance in Thailand]. Asian Development Bank. สืบค้น 4-9-2557.</ref>
 
== ประวัติ ==