ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวฤกษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 388:
==== ดาวมวลมาก ====
{{บทความหลัก|ดาวยักษ์ใหญ่แดง}}
[[ไฟล์:Betelgeuse star (Hubble).jpg|thumb|left|[[ดาวบีเทลจุส]] เป็นดาวยักษ์ใหญ่แดง ซึ่งกำลังจะสิ้นอายุขัย|link=Special:FilePath/Betelgeuse_star_(Hubble).jpg]]
 
ระหว่างช่วงการเผาผลาญฮีเลียมของดาวฤกษ์เหล่านี้ ดาวมวลมากซึ่งมีมวลมากกว่า 9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์จะพองตัวออกจนกระทั่งกลายเป็น[[ดาวยักษ์ใหญ่แดง]] เมื่อเชื้อเพลิงที่แกนกลางของดาวยักษ์ใหญ่แดงหมด พวกมันจะยังคงฟิวชั่นธาตุที่หนักกว่าฮีเลียม
บรรทัด 553:
{{บทความหลัก|สนามแม่เหล็กของดาวฤกษ์}}
 
[[สนามแม่เหล็ก]]ของดาวฤกษ์เกิดขึ้นจากบริเวณภายในของดาวที่ซึ่งเกิดการไหลเวียนของการพาความร้อน การเคลื่อนที่นี้ทำให้ประจุในพลาสมาทำตัวเสมือนเป็น[[ทฤษฎีไดนาโม|เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบไดนาโม]] ซึ่งทำให้เกิดสนามแม่เหล็กแผ่ขยายออกมาภายนอกดวงดาว กำลังของสนามแม่เหล็กนี้แปรตามขนาดของมวลและองค์ประกอบของดาว ส่วนขนาดของกิจกรรมพื้นผิวสนามแม่เหล็กก็ขึ้นกับอัตราการหมุนรอบตัวเองของดาวฤกษ์นั้น กิจกรรมที่พื้นผิวสนามแม่เหล็กแมนยสสสสสสสสสสสสสสวววยย[[ใ]]นี้ทำให้เกิด[[จุดบนดาวฤกษ์]] อันเป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กเข้มกว่าปกติและมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่าปกติ [[วงโคโรนา]]คือแนวสนามแม่เหล็กโค้งที่แผ่เข้าไปในโคโรนา ส่วน[[เปลวดาวฤกษ์]]คือการระเบิดของอนุภาคพลังงานสูงที่แผ่ออกมาเนื่องจากกิจกรรมพื้นผิวสนามแม่เหล็ก<ref>{{cite web
| last = Brainerd | first=Jerome James
| date = 2005-07-06 | url=http://www.astrophysicsspectator.com/topics/observation/XRayCorona.html