ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราซาซายัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<br />
'''ราซาซายัง''' ({{lang-ms|Rasa Sayang}}) ใน[[อินโดนีเซีย]]ใช้ชื่อว่า '''ราซาซายาเง''' ({{lang-id|Rasa Sayange}})<ref name="star"/> เป็นเพลงพื้นบ้านชาวอินโดนีเซียยอดนิยมในอินโดนีเซียมาเลเซียและสิงคโปร์<ref>{{cite book |title=Handbuch der Orientalistik: Literaturen, Abschn. 1|pages=135|author=L. F. Brakel, M. Balfas, M. Taib Bin Osman, J. Gonda, B. Rangkuti, B. Lumbera, H. Kahler|isbn=90-04-04331-4|year=1976|publisher=Brill Academic Publishers|location=Leiden, Netherlands}}</ref>
 
ทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซียต่างอ้างว่าเพลงราซาซายังเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของตน จึงก่อให้เกิดข้อโต้แย้งกันอยู่เสมอ โดยฝ่ายอินโดนีเซียกล่าวอ้างว่าเป็นเพลงพื้นเมืองของ[[หมู่เกาะโมลุกกะ]]<ref>[http://www.antaranews.com/view/?i=1191423395&c=SBH&s= Antara News: "The Governor of Maluku Insists that the Song 'Rasa Sayange' Belongs to Indonesia"]</ref> เมื่อ ค.ศ. 2007 คณะกรรมการส่งเสริมการท่องเที่ยวมาเลเซียได้ใช้เพลงนี้ประกอบภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมการท่องเที่ยว และถูกกระทรวงการท่องเที่ยวของอินโดนีเซียโต้แย้ง<ref name=tourism>[http://www.tourismindonesia.com/2007/10/folk-song-sparks-row-between-indonesia.html "Folk song sparks row between Indonesia, Malaysia."] ''Tourism Indonesia''. October 3, 2007.</ref> ปัจจุบันได้มีการประนีประนอม โดยระบุว่าเพลงนี้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม[[ภูมิภาคมลายู]] (Nusantara)<ref name="star">{{cite news|publisher=The Star|accessdate=2008-01-21|title=‘Rasa Sayang’ belongs to everybody, says minister|url=http://thestar.com.my/news/story.asp?file=/2008/1/12/nation/19988592&sec=nation|date=2008-01-12}}</ref>
 
==อ้างอิง==