ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kitttiphum (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 35:
| footnotes =
}}
[[ไฟล์:Thai Airways Int Boeing 747 BKK.jpg|thumb| เครื่องบินแบบ |[[โบอิง 747|Boeing 747-400]] ของสายการบินไทย ที่ทำการบินประจำท่าอากาศยานเชียงรายก่อนเลิกบิน]]
[[ไฟล์:Airbus A340-642, Thai Airways International JP7537215.jpg|thumb| เครื่องบินแบบ |[[แอร์บัส เอ340|Airbus 340-642]] ทะเบียน HS-TNB ของสายการบินไทย ที่ทำการบินประจำท่าอากาศยานเชียงรายก่อนเลิกบิน]]
 
'''ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย''' หรือ '''สนามบินเชียงราย''' ({{lang-en|Mae Fah Luang – Chiang Rai International Airport}}) {{Airport codes|CEI|VTCT}} ตั้งอยู่เลขที่ 404 หมู่ 10 ตำบลบ้านดู่ [[อำเภอเมืองเชียงราย]] [[จังหวัดเชียงราย]] ห่างจากถนนพหลโยธิน (เชียงราย - แม่จัน) ทางทิศตะวันออกประมาณ 2.6 กิโลเมตร และห่างจากตัวเมืองเชียงราย ประมาณ 8 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 3,042 ไร่
บรรทัด 267:
== โครงการพัฒนาท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ==
ในการประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2559 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2559 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแผนแม่บทการพัฒนา ทชร. โดยแบ่งการพัฒนาเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่หนึ่ง ปี 2561-2565 ระยะที่สอง ปี 2564-2569 และระยะที่สาม ปี 2569-2574
[[ไฟล์:CEI_project_development_phase_CEI project development phase 1.jpg|thumb|217x217px|รายละเอียดโครงการพัฒนาท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ระยะที่ 1|link=Special:FilePath/CEI_project_development_phase_1.jpg]]
 
=== '''แผนพัฒนาระยะที่หนึ่ง ปี 2561-2565 (แผนเดิม)''' ===
[[ไฟล์:CEI_project_development_phase_CEI project development phase 2-3.jpg|thumb|217x217px|รายละเอียดโครงการพัฒนาท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ระยะที่ 2 และ 3|link=Special:FilePath/CEI_project_development_phase_2-3.jpg]]
- รองรับปริมาณจราจรทางอากาศได้ถึงปี พ.ศ. 2568
 
บรรทัด 304:
 
การลงทุนครั้งนี้จะต้องรอที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท.พิจารณารายละเอียดตามข้อเสนอจะปรับให้มีขีดความสามารถด้านการรองรับผู้โดยสารปีละ 5 ล้านคน แตกต่างจากแผนเดิมกำหนดให้รับได้เพียง 3.7 ล้านคน เนื่องจากปัจจุบันผู้โดยสารเดินทางผ่านเข้าออกเกือบ 3 ล้านคนแล้ว (ล่าสุด 2 ต.ค. 61 ยังมีมติให้ใช้แผนเดิม https://www.77kaoded.com/content/170332)
 
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.) มีปริมาณผู้โดยสารสูงสุดเป็นอันดับที่ 6 ของท่าอากาศยาน โดยอัตราการเจริญเติบโตที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลดีในภาพรวมของเศรษฐกิจของประเทศในเรื่องของการสร้างรายได้และการพัฒนาเมืองเชียงราย ดังนั้น ทอท. ได้ตระหนักถึงอัตราการเติบโตดังกล่าว จึงได้จัดทำ แผนพัฒนา ท่าอากาศยานฯ ตาม โครงการ “งานเร่งด่วนเพื่อบรรเทาความแออัด ปี พ.ศ.2561-2565” จำนวน 8 รายการ คือ 1.งานก่อสร้างทางขับขนานด้านทิศเหนือ, 2.งานปรับปรุงทางขับท้ายหลุมจอดเพื่อรองรับอากาศยาน Code E และก่อสร้างทางเชื่อมทางวิ่ง, 3.งานปรับปรุงพื้นผิวทางขับ A และ B, 4.งานปรับปรุงอาคารผู้โดยสาร พร้อมระบบสนับสนุน, 5. งานปรับปรุงระบบถนนภายในท่าอากาศยานพร้อมซุ้มทางเข้า และก่อสร้างทางยกระดับ, 6.งานก่อสร้างอาคารสำนักงาน ทชร., 7.งานก่อสร้างอาคารบำรุงรักษา ทชร. และ 8.งานก่อสร้างอาคารดับเพลิงกู้ภัย ทชร. โดยโครงการแผนพัฒนาฯ ลำดับที่1-3 อยู่ระหว่างการปรับปรุงแบบเพื่อเสนอความเห็นชอบจากสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) และโครงการฯ ลำดับที่ 4-8 อยู่ระหว่างการออกแบบ และจ้างประมาณราคา (https://www.77kaoded.com/content/891443)
 
== ดูเพิ่ม ==