ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พายุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "* ประเทศไทยโง่่่สนใจแว่นตา Ophtus หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์..."
ป้ายระบุ: ถูกแทน การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ blanking
บรรทัด 1:
* ประเทศไทยโง่่่สนใจแว่นตา Ophtus
<br />
[[ไฟล์:Rolling-thunder-cloud.jpg|thumb|right|280px|เมฆพายุหมุนเหนือเมือง [[เอนสเกเด]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]]]
{{สภาพอากาศ}}
'''พายุ''' คือ สภาพบรรยากาศที่ถูกรบกวนแบบใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะที่มีผลกระทบต่อพื้นผิวโลก และบ่งบอกถึงสภาพอากาศที่รุนแรง เวลากล่าวถึงความรุนแรงของพายุ จะมีปัจจัยสำคัญอยู่บางประการคือ ความเร็วใกล้ศูนย์กลาง ซึ่งอาจสูงถึง 400 กม./ชม. ความเร็วของการเคลื่อนตัว ทิศทางการเคลื่อนตัวของพายุ และขนาดความกว้างหรือเส้นผ่าศูนย์กลางของตัวพายุ ซึ่งบอกถึงอาณาบริเวณที่จะได้รับความเสียหายว่าครอบคลุมเท่าใด ความรุนแรงของพายุจะมีมาตราวัดความรุนแรงคล้ายมาตรา[[ริกเตอร์]]ของการวัดขนาด[[แผ่นดินไหว]] มักจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีการเกิดได้ทุกที่ทั่วโลกร่วมกันอย่างแพร่กระจายผ่านไปผ่านอุปกรณ์ป้อนข้อมูลจากท่านผู้มีอำนาจสั่งบรรจุวัสดุก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านทำลายจุด
 
== การเกิด ==
พายุ (Storms)เกิดจากแรงดันในอากาศต่ำลงมากกว่าในบริเวณรอบๆ พื้นที่หนึ่ง พร้อมกับมีแรงดันอากาศสูงเกิดขึ้นรอบ ๆ พื้นที่นั้น การรวมของแรงปะทะต่าง ๆ ก่อให้เกิด[[ลม]] อันส่งผลให้เกิด การเคลื่อนตัวเปลี่ยนรูปของพายุเมฆ เช่น สภาพที่เรียกว่า cumulonimbus ซึ่งเป็นในรูปแบบก้อนเมฆดำทะมึนหนาทึบอันเต็มไปด้วยประจุไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดฝนฟ้าคะนอง
 
ซึ่งแรงดันอากาศต่ำอาจเกิดจากจุดเล็ก ๆ ที่พื้นที่ใด ๆ อันเกิดจากอากาศร้อนลอยล่องขึ้นจากพื้นดิน ส่งผลให้เกิดการปั่นป่วนน้อย ๆ เช่น การเกิดพายุฝุ่น (dust devils) หรือลมหมุน (whirlwinds)
 
== ประเภท ==
* พายุหิมะ (ฺBlizzard) - ที่ทำให้เกิดหิมะจำนวนมาก จนมองไม่เห็นทางข้างหน้า ผลที่เกิดขึ้นคือทำให้วิสัยทัศน์ในการมองเห็นแทบจะเหลือศูนย์ โดยมีลมแรงอย่างน้อย 35 ไมล์ต่อชั่วโมง (56 กม. / ชม.) และมีผลกระทบอยู่เป็นเวลานาน
*พายุฝุ่น (Dust storm) - เกิดจากสถานการณ์ที่ลมพัดเอาทรายหรือดินในปริมาณมาก มีผลกระทบทำให้ลดการมองเห็นเป็นอย่างมาก
*Gale - พายุลมแรงด้วยความเร็ว 34-48 นอต (39–55 ไมล์ต่อชั่วโมงหรือ 63–90 กม. / ชม.)
*พายุลูกเห็บ (Hailstorm) - พายุชนิดหนึ่ง เป็นปรากปรากฏการณ์ทำให้เกิด[[ลูกเห็บ]]จำนวนมากตกลงมาจาก[[ท้องฟ้า]]
*[[พายุฟ้าคะนอง]] (Thunderstorm) - เป็นพายุชนิดหนึ่งที่ถูกจัดลักษณะโดยปรากฏการณ์จากผลกระทบของ แสง และ เสียง บนบรรยากาศของโลก ที่รู้จักกันในชื่อ [[ฟ้าร้อง]]
*[[ทอร์นาโด]] (Tornado) - เป็นพายุที่เกิดจากการหมุนของอากาศ สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ โดยลักษณะที่พบได้บ่อยที่สุดคือลักษณะรูปทรงกรวย โดยส่วนปลายโคนชี้ลงที่พื้น
*[[พายุหมุนเขตร้อน]] (Tropical cyclone) - เป็นระบบพายุที่หมุนอย่างรวดเร็ว มีลักษณะได้แก่ ศูนย์กลางความกดอากาศต่ำ การไหลเวียนของบรรยากาศระดับต่ำแบบปิด ลมกระโชกแรง และการจัดเรียงของพายุฟ้าคะนองแบบก้นหอยซึ่งให้เกิดฝนตกหนัก
*[[พายุหมุนนอกเขตร้อน]] (extratropical cyclone) เป็นบริเวณความกดอากาศต่ำซึ่งขับเคลื่อนลมฟ้าอากาศในพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลกร่วมกับแอนไทไซโคลนในเขตละติจูดสูง พายุหมุนนอกเขตร้อนสามารถทำให้เกิดท้องฟ้ามีเมฆมากและมีฝนตก
 
== อ้างอิง ==
 
* Lan Rohr, ''ภัยใกล้ตัว (Go Facts Disaster: Wild Weather)'', 2552. ISBN 9789743123610.
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อพายุ]] รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกตอนบน
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.tmd.go.th/storm_tracking.php เส้นทางเดินพายุ] กรมอุตุนิยมวิทยา
 
[[หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พายุ"