ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลกตะวันตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์<ref>Religions in Global Society – Page 146, Peter Beyer – 2006</ref><ref name="Cambridge University Historical Series">Cambridge University Historical Series, ''An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects'', p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.</ref><ref name="Caltron J.H Hayas">Caltron J.H Hayas, ''Christianity and Western Civilization'' (1953),Stanford University Press, p.2: That certain distinctive features of our Western civilization&nbsp;— the civilization of western Europe and of America— have been shaped chiefly by Judaeo–Graeco–Christianity, Catholic and Protestant.</ref><ref name="Horst Hutter">Horst Hutter, University of New York, ''Shaping the Future: Nietzsche's New Regime of the Soul And Its Ascetic Practices'' (2004), p.111:three mighty founders of Western culture, namely Socrates, Jesus, and Plato.</ref><ref name="Fred Reinhard Dallmayr">Fred Reinhard Dallmayr, ''Dialogue Among Civilizations: Some Exemplary Voices'' (2004), p.22: Western civilization is also sometimes described as "Christian" or "Judaeo- Christian" civilization.</ref> โลกตะวันตกในยุคปัจจุบันได้รับอิทธิพลจากขนบธรรมเนียมของ[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]] [[การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์]] [[ยุคเรืองปัญญา]] และ ลัทธิล่าอาณานิคมในช่วงศตวรรษที่ 15 ถึง 20 ในสมัยก่อนยุคสงครามเย็นมุมมองของชาวตะวันตกแบบดั้งเดิมเกี่ยวกับโลกตะวันตกก็คือ กลุ่มประเทศทางตะวันตกที่ยึดถือขนบธรรมเนียมและนับถือศาสนาคริสต์ไม่ว่าจะเป็นนิกาย[[โรมันคาทอลิก]] หรือ [[โปรเตสแตนต์]]<ref name="google.com">[https://www.google.com/search?q=%22western+christianity%22+%22western+world%22&hl=en&sa=X&ei=3US_UfOUN9D04QTElIHwDQ&ved=0CCUQpwUoBA&source=lnt&tbs=cdr%3A1%2Ccd_min%3A1800%2Ccd_max%3A1960&tbm=bks]|Google books results in English language between the 1800–1960 period</ref> ความหมายของคำว่าโลกตะวันตกได้เปลี่ยนไปเนื่องจากความเป็นปรปักษ์กันของนาๆประเทศซึ่งเกิดจากสงครามเย็นในช่วงกลางถึงปลายศตวรรษที่ 20 (คศ. 1947-1991)
 
แต่เดิมโลกตะวันตกมีความหมายทางภูมิศาสตร์อย่างชัดเจนด้วยการแยกยุโรปออกจากอารยธรรมตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ รวมไปจนถึงการแยกเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตะวันออกไกลซึ่งชาวยุโรรปสมัยนั้นมองว่าเป็นโลกตะวันออก ปัจจุบันคำศัพท์นี้ซี้ดดดดดดดดดดดดดดดมีความเกี่ยวข้องทางภูมิศาสตร์เพียงเล็กน้อยเนื่องจากคำจำกัดความของโลกตะวันตกได้รับการขยายไปถึงประเทศซึ่งเป็นอดีตอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา รัสเซียทางตอนเหนือของเอเชีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
 
ในปัจจุบันคำว่า "โลกตะวันตก" จะหมายถึงยุโรปและประเทศต่างๆซึ่งมีจุดกำเนิดจากการเป็นอาณานิคมของยุโรปโดยที่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศนั้นๆมีบรรพบุรุษซึ่งมาจากยุโรป ไม่ว่าจะเป็นประเทศในทวีปอเมริกา เอเชียหรือโอเชียเนีย<ref name=autogenerated1>{{cite book | last = Thompson | first = William |first2 = Joseph|last2= Hickey | year = 2005 | title = Society in Focus | publisher = Pearson|location = Boston, MA| id = 0-205-41365-X}}</ref>
 
==บทนำ==