ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไข่ (อาหาร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7905591 สร้างโดย 223.24.188.22 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
แทนที่เนื้อหาด้วย "thumb|300px|ทางซ้ายคือไข่[[ไก่ ซึ่งโดยทั่ว..."
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Coturnix coturnix eggs.jpg|thumb|300px|ทางซ้ายคือไข่[[ไก่]] ซึ่งโดยทั่วไปได้ใช้ในการกินมากที่สุดโดย[[มนุษย์]] และทางขวาคือไข่[[นกกระทา]]สองฟอง ที่[[สุนัขจิ้งจอก]]มักนำมากินเป็นอาหาร]]
 
ไข่ที่ดีต้องมีโอเมก้า 3D และ ความน่าจะเป้น
สัตว์ตัวเมียหลายสปีชีส์วาง'''ไข่''' รวมทั้ง[[นก]] [[สัตว์เลื้อยคลาน]] [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] และ[[ปลา]] และอาจเป็นอาหารที่มนุษย์ชาติรับประทานมานับสหัสวรรษ ไข่นกและสัตว์เลื้อยคลานประกอบด้วยเปลือกไข่ที่ทำหน้าที่ปกป้องอันตรายต่อไข่, [[ไข่ขาว]]และ[[ไข่แดง]] รวมกันอยู่ภายในเยื่อบาง ๆ หลายชั้น ไข่สัตว์ที่นิยมรับประทานกันมี[[ไก่]] [[เป็ด]] [[นกกระทา]] [[ปลา]]และ[[ไข่ปลาคาเวียร์|คาเวียร์]] แต่มนุษย์นิยมรับประทานไข่ไก่มากที่สุด และทิ้งช่วงห่างไข่สัตว์อื่นอยู่มาก
 
== ชาวนา ==
ไข่แดงและไข่ทั้งฟองมีปริมาณ[[โปรตีน]]และ[[โคลีน]]อยู่มาก<ref name="USDA_Home_and_Garden_no_264"/><ref name="USDA_Food_Choline_Chart">{{Cite document|title=USDA Database for the Choline Content of Common Foods|url=http://www.nal.usda.gov/fnic/foodcomp/Data/Choline/Choline.pdf|year=2004|month=March|last=Howe|first=Juliette C.|last2=Williams|first2=Juhi R.|last3=Holden|first3=Joanne M.|publisher=United States Department of Agriculture ([[USDA]])|page=10|postscript=<!--None-->}}</ref> และพบใช้บ่อยในการครัว เนื่องจากโปรตีนที่มีอยู่ กระทรวงการเกษตรสหรัฐอเมริกาจึงจัดประเภทไข่ว่าเป็น ''เนื้อสัตว์'' ใน[[พีระมิดอาหาร]]<ref name="USDA_Home_and_Garden_no_264">{{Cite journal|title=How to Buy Eggs|publisher=United States Department of Agriculture ([[USDA]])|author=Agricultural Marketing Service|journal=Home and Garden Bulletin|page=1|issue=264|postscript=<!--None-->}}</ref> อย่างไรก็ดี แม้ไข่จะมีคุณค่าทางโภชนาการ แต่ก็มีแนวโน้มก่อปัญหาสุขภาพบางอย่างเกิดขึ้นจากคุณภาพ การเก็บ และการเกิดการแพ้ในผู้ที่มีอาการแพ้
ZEED ZAA อิอิ
 
== รถไฟ ==
ไก่และสิ่งมีชีวิตวางไข่อื่น ๆ เก็บเลี้ยงอย่างกว้างขวางทั่วโลก และการผลิตไข่ไก่จำนวนมากเป็นอุตสาหกรรมระดับโลก มีปัญหาในอุปสงค์และความคาดหมายที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค เช่นเดียวกับการถกเถียงกันในปัจจุบันเกี่ยวกับวิธีการผลิตจำนวนมาก โดย[[สหภาพยุโรป]]วางแผนห้ามการเลี้ยงแบบแบตเตอรี (battery farming) หลัง พ.ศ. 2555
 
== อ้างอิง ==
== ความหลากหลาย ==
สิ่งใหม่
ไข่นกเป็นอาหารธรรมดาทั่วไปและเป็นหนึ่งในส่วนประกอบมากประโยชน์ที่สุดที่ใช้ในการปรุงอาหาร ไข่สำคัญในอุตสาหกรรมอาหารสมัยใหม่หลายสาขา<ref name=Larousse>{{cite book | title = [[Larousse Gastronomique]] | first = Prosper | last = Montagne | isbn = 0609609718 | publisher = Clarkson Potter | year = 2001 | pages= 447–448}}</ref> ไข่นกที่ใช้กันมากที่สุดมาจากไก่ เป็ดและห่าน และไข่ที่เล็กกว่า เช่น ไข่นกกระทา ใช้บ้างเป็นบางครั้ง เช่นเดียวกับไข่นกที่ใหญ่ที่สุด ไข่[[นกกระจอกเทศ]] ไข่นกนางนวลถือว่าเป็นอาหารราคาแพงในอังกฤษ<ref name=Roux8>{{cite book | title = Eggs | first = Michel | last = Roux | coauthors = Martin Brigdale | publisher = Wiley | isbn = 0471769134 | year = 2006 | page = 8}}</ref> เช่นเดียวกับบางประเทศ[[สแกนดิเนเวีย]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[นอร์เวย์]] ในบางประเทศแอฟริกา ไข่ไก่ต๊อก (guineafowl) พบเห็นทั่วไปในตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูใบไม้ผลิ<ref name=Stadelman001>{{cite book | title = Egg Science and Technology | first = William | last = Stadelman | publisher = Haworth Press | year = 1995 | isbn = 1560228547 | page = 1}}</ref> ไข่ไก่ฟ้า (pheasant) และอีมูรับประทานได้อย่างดี แต่หาได้ไม่กว้างขวางนัก<ref name=Roux8/> บางครั้งไข่ได้มาจากชาวนา พ่อค้าสัตว์ปีกหรือห้างสรรพสินค้าหรูหรา ไข่นกป่าส่วนใหญ่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายในหลายประเทศ ซึ่งห้ามการเก็บหรือขาย หรืออนุญาตให้กระทำได้เฉพาะบางช่วงเวลาของปี<ref name=Roux8/>
 
== คุณค่าทางโภชนาการ ==
ไข่ไก่ให้[[กรดอะมิโนจำเป็น]]ทุกชนิด<ref>{{cite web|url=http://www.fao.org/AG/againfo/subjects/en/eggs.html |title=Food and Agriculture Organization article on eggs |publisher=Fao.org |date= |accessdate=2010-01-10}}</ref> ตลอดจน[[วิตามิน]]และเกลือแร่อีกหลายชนิด รวมทั้งเรตินอล<ref name="USDA_National_Nutrient_Database_for_Standard_Reference_Release_18">{{Cite document|title=Vitamin A, RAE Content of Selected Foods per Common Measure, sorted by nutrient content|url=http://www.nal.usda.gov/fnic/foodcomp/Data/SR18/nutrlist/sr18w320.pdf|year=2005|publisher=United States Department of Agriculture ([[USDA]])|page=4|postscript=<!--None-->}}</ref> (วิตามินเอ), ไรโบฟลาวิน (วิตามินบี2), กรดโฟลิก (วิตามินบี9), วิตามินบี6, วิตามินบี12, โคลีน, เหล็ก, แคลเซียม, ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม
 
วิตามินเอ ดีและอีทั้งหมดในไข่อยู่ในไข่แดง ไข่เป็นหนึ่งในอาหารไม่กี่ชนิดในธรรมชาติที่มีวิตามินดี ไข่แดงขนาดใหญ่ให้พลังงานประมาณ 60 [[แคลอรี]] (250 กิโล[[จูล]]) ไข่ขาวให้พลังงานประมาณ 15 แคลอรี (60 กิโลจูล) ไข่แดงขนาดใหญ่มีปริมาณ[[คอเลสเตอรอล]]ที่แนะนำให้รับประทานต่อวันที่ 300 มิลลิกรัมมากกว่าสองในสาม แม้การศึกษาหนึ่งจะชี้ว่าร่างกายมนุษย์ไม่อาจดูดซับคอเลสเตอรอลจากไข่ได้มากนัก<ref>{{cite web|url=http://unisci.com/stories/20014/1029013.htm |title=University Science article on eggs and cholesterol |publisher=Unisci.com |date=2001-10-29 |accessdate=2010-01-10}}</ref> ไข่แดงมีน้ำหนักคิดเป็น 33% ของน้ำหนักของเหลวของไข่ ไขมันทั้งหมดอยู่ในไข่แดง น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของโปรตีนเล็กน้อย และสารอาหารอื่นส่วนใหญ่ ไข่แดงยังมีโคลีนทั้งหมด และไข่แดงหนึ่งมีปริมาณเกือบครึ่งหนึ่งของปริมาณที่แนะนำต่อวัน โคลีนเป็นสารอาหารสำคัญต่อพัฒนาการของสมอง และกล่าวกันว่าสำคัญต่อสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรเพื่อประกันพัฒนาการทางสมองของทารก<ref>{{cite web|url=http://www.pdrhealth.com/drug_info/nmdrugprofiles/nutsupdrugs/cho_0283.shtml |title=Eggs and fetal brain development |publisher=Pdrhealth.com |date= |accessdate=2010-01-10}} {{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2553}}</ref>
 
== ปัญหาสุขภาพ ==
 
=== คอเลสเตอรอลและไขมัน ===
แคลอรีเกินครึ่งหนึ่งของไข่มาจากไขมันที่อยู่ในไข่แดง ไข่ไก่ขนาดใหญ่ (50 กรัม) มีไขมันอยู่ประมาณ 5 กรัม ผู้ที่รับประทานอาหารคอเลสเตอรอลต่ำอาจต้องลดการบริโภคไข่ อย่างไรก็ดี มีไขมันในไข่เพียง 27% เท่านั้นที่เป็นไขมันอิ่มตัว ได้แก่ กรดปาล์มิติก สเตียริกและไมริสติก<ref>U.S. Department of Agriculture, Agricultural Research Service. 2007. USDA National Nutrient Database for Standard Reference, Release 20. [http://www.ars.usda.gov/ba/bhnrc/ndl Nutrient Data Laboratory Home Page]</ref> ซึ่งมีแอลดีแอลคอเลสเตอรอล ไข่ขาวส่วนใหญ่เป็นน้ำ (87%) และโปรตีน (13%) ไม่มีคอเลสเตอรอล และมีไขมันน้อยมากถึงไม่มีเลย
 
มีการถกเถียงว่าไข่แดงทำให้เกิดปัญหาสุขภาพหรือไม่ บางวิจัยเสนอว่า คอเลสเตอรอลจากไข่เพิ่มสัดส่วนรวมต่อเอชดีแอลคอเลสเตอรอล ดังนั้นจึงมีผลร้ายต่อภาวะคอเลสเตอรอลของร่างกาย<ref>{{cite journal |author=Weggemans RM, Zock PL, Katan MB |title=Dietary cholesterol from eggs increases the ratio of total cholesterol to high-density lipoprotein cholesterol in humans: a meta-analysis |journal=Am. J. Clin. Nutr. |volume=73 |issue=5 |pages=885–91 |year=2001 |pmid=11333841 |doi=}}</ref> ขณะที่การศึกษาอื่นแสดงว่าการบริโภคไข่ปานกลาง คือ หนึ่งฟองต่อวัน ไม่ปรากฏว่าเพิ่มความเสี่ยงต่อ[[โรคหัวใจ]]ในผู้มีสุขภาพดี<ref name=Hu>{{cite journal |author=Hu FB, Stampfer MJ, Rimm EB, ''et al.'' |title=A prospective study of egg consumption and risk of cardiovascular disease in men and women |journal=JAMA |volume=281 |issue=15 |pages=1387–94 |year=1999 |pmid=10217054|doi=10.1001/jama.281.15.1387}}</ref> การศึกษาในผู้ใหญ่เกือบ 10,000 คนใน พ.ศ. 2550 แสดงให้เห็นว่าไม่มีความเชื่อมโยงระหว่างการบริโภคไข่ปานกลาง (หกฟองต่อสัปดาห์) กับ[[โรคหัวใจและหลอดเลือด]]หรือ[[โรคหลอดเลือดสมอง]] ยกเว้นในประชากรผู้ป่วย[[โรคเบาหวาน]]ที่มีความเสี่ยงต่อ[[โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ]]<ref>{{cite journal |author=Qureshi AI, Suri FK, Ahmed S, Nasar A, Divani AA, Kirmani JF |title=Regular egg consumption does not increase the risk of stroke and cardiovascular diseases |journal=Med. Sci. Monit. |volume=13 |issue=1 |pages=CR1–8 |year=2007 |pmid=17179903 |doi=}}</ref> อีกการศึกษาหนึ่งสนับสนุนแนวคิดว่าการบริโภคไข่ปริมาณมากเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวาน<ref>{{cite journal |author=Schärer M, Schulthess G |title=[Egg intake and cardiovascular risk] |language=German |journal=Ther Umsch |volume=62 |issue=9 |pages=611–3 |year=2005 |pmid=16218496 |doi=}}</ref>
 
=== การแพ้ ===
ไข่เป็นอาหารที่พบ[[Food allergy|การแพ้]]บ่อยที่สุดอย่างหนึ่งในทารก<ref name="food_allergy">[http://www.sswahs.nsw.gov.au/rpa/allergy/resources/allergy/eggallergy.pdf Egg Allergy Brochure], distributed by [[Royal Prince Alfred Hospital]]</ref> หากไม่ได้สัมผัสไข่มากๆ ทารกมักหายจากอาการแพ้ไข่ได้เมื่อโตขึ้น<ref>[http://www.aafa.org/display.cfm?id=9&sub=20&cont=523 “Egg Allergy Facts”] Asthma and Allergy Foundation of America</ref> ส่วนใหญ่พบเป็นการแพ้ไข่ขาวมากกว่าไข่แดง<ref name="isbn3-540-20768-6">{{cite book |author=Arnaldo Cantani |title=Pediatric Allergy, Asthma and Immunology |publisher=Springer |location=Berlin |year=2008 |pages=710–713 |isbn=3-540-20768-6 |oclc= |doi= }}</ref>
 
และปีใหม่ ...............
นอกจากการแพ้แล้ว บางคนอาจ[[Food intolerance|มีอาการผิดปกติ]]เมื่อกินไข่ขาว แต่ไม่ได้เป็นผลจากปฏิกิริยาภูมิแพ้ก็ได้<ref name="isbn3-540-20768-6" />
 
.
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง|2}}
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
.
 
..
 
.
 
.
 
.
 
..
 
......
 
.
 
.
 
 
..
 
.
 
..
<br />
[[หมวดหมู่:ไข่ (อาหาร)| ]]