ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8:
คุณสมบัติปฐมภูมิของแสงที่มองเห็นได้ คือ ความเข้ม ทิศทางการแผ่ สเปกตรัมความถี่หรือความยาวคลื่น และ[[โพลาไรเซชัน]] (polarization) ส่วน[[ความเร็วของแสง|ความเร็ว]]ในสุญญากาศของแสง 299,792,458 เมตรต่อวินาที เป็นค่าคงตัวมูลฐานหนึ่งของธรรมชาติ
 
ในวิชาฟิสิกส์ บางครั้งคำว่า แสง หมายถึงการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในทุกความยาวคลื่น ไม่ว่ามองเห็นได้หรือไม่<ref>{{Cite book | title = Camera lenses: from box camera to digital | author = Gregory Hallock Smith | publisher = SPIE Press | year = 2006 | isbn = 978-0-8194-6093-6 | page = 4 | url = https://books.google.com/?id=6mb0C0cFCEYC&pg=PA4}}</ref><ref>{{Cite book | title = Comprehensive Physics XII | author = Narinder Kumar | publisher = Laxmi Publications | year = 2008 | isbn = 978-81-7008-592-8 | page = 1416 | url = https://books.google.com/?id=IryMtwHHngIC&pg=PA1416}}</ref> ในความหมายนี้ [[รังสีแกมมา]] [[รังสีเอ็กซ์]] [[ไมโครเวฟ]]และ[[คลื่นวิทยุ]]ก็เป็นแสงด้วย เช่นเดียวกับแสงทุกชนิด แสงที่มองเห็นได้มีการเแผ่และดูดซํบใน[[โฟตอน]]และแสดงคุณสมบัติของทั้ง[[คลื่น]]และ[[อนุภาค]] คุณสมบัตินี้เรียก [[ทวิภาคของคลื่น–อนุภาค]] การศึกษาแสง ที่เรียก ทัศนศาสตร์ เป็นขอบเขตการวิจัยที่สำคัญในวิชาฟิสิกส์สมัยใหม่ อิอิ
 
== สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าและแสงที่เห็นได้ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/แสง"