ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ส้วมในประเทศญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Modern japanese toilet.jpg|thumb|ปุ่มควบคุมส้วมญี่ปุ่นสมัยใหม่]]
 
ส้วมที่เป็นที่นิยมในประเทศญี่ปุ่นมี 2 แบบ<ref name="links">{{cite web|url=http://www.links.net/vita/trip/japan/toilets/|title=Japan: Toilets|author=Justin Hall|first=Justin|last=Hall|accessdate=2006-10-30}}</ref><ref name="japanguide">{{cite web|url=http://www.japan-guide.com/e/e2003.html|title=Japanese toilets|accessdate=2006-10-30|publisher=Japan-Guide.com}}</ref> ส้วมประเภทที่เก่าแก่ที่สุดเป็นส้วมแบบนั่งยอง ซึ่งปัจจุบันยังพบเห็นทั่วไปในห้องน้ำสาธารณะ ส่วนส้วมชักโครกและโถฉี่แบบตะวันตกเริ่มแพร่หลายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เทคโนโลยีปัจจุบันนิยมสำหรับส้วมแบบตะวันตกคือส้วมแบบบิเดต์ ซึ่งมีติดตั้งถึงร้อยละ 69 ของครัวเรือนญี่ปุ่น<ref>{{cite web|url=http://www.esri.cao.go.jp/jp/stat/shouhi/2009/0903ippan7.csv|title= Penetrarion rate of Major household durable goods |publisher=Economic and Social Research Institute (ESRI), Cabinet Office, Japan|date=March 2008|language=Japanese}}</ref> <ref name="High-Tech Toilets"> {{cite journal | title = High-Tech Toilets | journal = Web Japan | url = http://web-japan.org/kidsweb/techno/toilet/index.html | accessdate = 2009-03-04 | archiveurl = http://web.archive.org/web/20070101044850/http://web-japan.org/kidsweb/techno/toilet/index.html | archivedate = 2007-01-01 }} </ref><ref name="Toilet Nirvana"> {{cite web|url= http://www.nytimes.com/2002/10/08/world/nara-journal-japanese-masters-get-closer-to-the-toilet-nirvana.html?scp=1&sq=Japanese%20Masters%20Get%20Closer%20to%20the%20Toilet%20Nirvana&st=cse|title= Nara Journal; Japanese Masters Get Closer to the Toilet Nirvana|publisher=The New York Times|date= October 8, 2002}} </ref><ref name="super-toilets worldwide"> {{cite news | author = Reuters, Tokyo | title = US, Europe unready for super-toilets, but Japan is patient | url = http://www.taipeitimes.com/News/biz/archives/2003/09/28/2003069604 | work = Taipei Times | date = September 28, 2003 | accessdate = 2006-11-08 }} </ref> ในญี่ปุ่น ส้วมแบบบิเดต์นี้มักถูกเรียกว่า[[วอชเลต]] ซึ่งเป็นยี่ห้อผลิตภัณฑ์ของ[[บริษัท โตโต้ จำกัด]] และมีความสามารถหลายอย่างเช่น การล้าง[[ทวารหนัก]] การล้างแบบบิเดต์ การอุ่นที่นั่ง และการกำจัดกลิ่น อิอิ
 
== ชื่อเรียก ว่าอะไรจ๊ะ ==
ในสมัยโบราณส้วมถูกเรียกว่า "ฮะบะกะริ (はばかり)", "เซตชิง (雪隠)", "โชซุ (手水)" แต่ตั้งแต่สมัยโชวะเป็นต้นมาศัพท์ที่ใช้เรียกส้วมก็ถูกเปลี่ยนเป็นคำที่ใช้ในปัจจุบันเช่น "โอะเตะอะระอิ  (お手洗い)", "เคะโชชิสุ (化粧室)" รวมทั้งเริ่มมีการใช้คำทับศัพท์เช่น "โทะอิเระ (トイレ)" ด้วย
 
บรรทัด 11:
ส้วมในความหมายของเครื่องสุขภัณฑ์จะถูกเรียกว่า "เบ็งกิ" (便器) ที่นั่งเรียกว่า "เบ็นซะ" (便座)<ref name="Toilet vocabulary"> {{cite web | url = http://www.neverland.to/kanji/list/toilet.html | title = List about toilet | accessdate = 2006-11-07 }} </ref> กระโถนสำหรับเด็ก คนชรา หรือผู้ป่วยเรียกว่า "โอะมะรุ" (บางครั้งเขียนว่า 御虎子)
 
== ประเภทของส้วม จีงปะะ ==
=== ส้วมแบบญี่ปุ่น ===
[[ไฟล์:JapaneseSquatToilet.jpg|thumb|ส้วมแบบญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบัน มีรองเท้าแตะที่ใช้ในห้องน้ำ ป้ายด้านซ้ายของท่อแนวตั้งเขียนว่า “กรุณานั่งยองใกล้เข้ามาอีกหน่อย”]] ส้วมแบบญี่ปุ่นดั้งเดิม (和式, ''วะชิกิ'') คือส้วมแบบนั่งยอง ซึ่งรู้จักในอีกชื่อคือ ''ส้วมเอเชีย''<ref name = "AsianToilet">{{cite web|url=http://www.worldtoilet.org/articles/articles_per_japanesetoilets.htm|title=A Study of Japanese Toilets|author=Lim Tai Wei|accessdate=2006-10-30}}</ref> เพราะส้วมแบบนั่งยองเป็นแบบที่พบเห็นได้ทั่วทวีปเอเชีย ส้วมแบบนั่งยองแตกต่างจากส้วมแบบตะวันตกทั้งวิธีสร้างและวิธีใช้ ส้วมนั่งยองมีลักษณะคล้ายโถฉี่ขนาดเล็กซึ่งถูกหมุน 90 องศาและติดตั้งบนพื้น ส้วมแบบญี่ปุ่นส่วนใหญ่ทำจาก[[เครื่องเคลือบดินเผา]] และในบางแห่ง (เช่นบนรถไฟ) ทำด้วย[[สเตนเลส]] ผู้ใช้ต้องนั่งยองบนส้วมโดยหันหน้าเข้าหาด้านที่มีฝาโค้งครึ่งทรงกลม (หรือหันหน้าเข้าหากำแพงด้านหลังส้วมในภาพด้านขวามือ)<ref name = "AsianToilet"> {{cite web | url = http://www.asahi-net.or.jp/~AD8y-hys/movie.htm | title = How to use Japanese style toilet. | accessdate = 2006-11-08 }} </ref> แอ่งตื้น ๆ ของส้วมจะทำหน้าที่เป็นที่เก็บสิ่งปฏิกูลแทนโถที่มีน้ำของส้วมแบบตะวันตก แต่ส่วนอื่น ๆ เช่นถังกักน้ำ ท่อ และกลไกการปล่อยน้ำเหมือนกันกับส้วมตะวันตก การกดชักโครกจะทำให้น้ำที่ถูกปล่อยออกมากวาดเอาสิ่งปฏิกูลในแอ่งไหลลงไปในหลุมอีกด้านหนึ่ง และทำให้สิ่งปฏิกูลถูกทิ้งไปในระบบน้ำเสีย การกดชักโครกมักใช้วิธีชักคันโยกเช่นเดียวกับส้วมตะวันตก แต่บางครั้งใช้วิธีดึงมือจับหรือเหยียบปุ่มบนพื้นแทน ส้วมญี่ปุ่นจำนวนมากมีการปล่อยน้ำสองแบบคือ “เล็ก” (小) กับ “ใหญ่” (大) ซึ่งแตกต่างกันที่ปริมาณน้ำที่ถูกปล่อยออก แบบแรกสำหรับการถ่ายเบา (ในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า “การถ่ายเล็ก”) และแบบหลังสำหรับการถ่ายหนัก (“การถ่ายใหญ่”) บางครั้งผู้ใช้จะเปิดน้ำแบบ “เล็ก” ให้เกิดเสียงขณะปัสสาวะเพื่อสร้างความเป็นส่วนตัว ส้วมแบบนั่งยองนี้มีทั้งแบบที่ติดตั้งในระดับเดียวกับพื้น และอีกแบบติดตั้งบนพื้นที่ยกสูงขึ้นประมาณ 30 ซม.<ref name = "JapanToiletHowTo"> {{cite web | url = http://www.japan-guide.com/e/e2003.html | title = Living in Japan - Toilet | accessdate = 2006-11-08 | publisher = Japanguide.com }} </ref> เพื่อให้ง่ายสำหรับผู้ชายเวลายืนปัสสาวะ แต่ทั้งสองแบบก็ใช้สำหรับยืนปัสสาวะได้เหมือนกัน ในห้องน้ำสาธารณะมักมีป้ายบอกให้ “กรุณาก้าวเข้ามาอีกก้าว” เพราะบางครั้งถ้าผู้ใช้นั่งยองห่างจากฝาโค้งมากเกินไปจะทำให้สิ่งปฏิกูลตกนอกส้วม
 
=== ส้วมแบบตะวันตก เก็บดิ ===
[[ไฟล์:WaterSavingToiletJapan.jpg|thumb|ท่อด้านบนของแทงก์ของส้วมแบบตะวันตกสามารถช่วยประหยัดน้ำ เพราะผู้ใช้สามารถล้างมือด้วยน้ำที่ไหลไปเติมแทงก์]]