ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
{{ชื่ออื่น|||ไฟร์ฟอกซ์ (แก้ความกำกวม)}}
 
ไม่พูดเยอะ เจ็บคอ
'''มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์''' ({{lang-en|Mozilla Firefox}}) รู้จักในชื่อ '''ไฟร์ฟอกซ์''' เป็น[[เว็บเบราว์เซอร์]]ที่สามารถใช้ได้ในหลาย[[ระบบปฏิบัติการ]] พัฒนาโดย[[มูลนิธิมอซิลลา]]และอาสาสมัครอีกหลายร้อยคน ปัจจุบันอยู่ใต้การดำเนินงานของ[[บริษัท มอซิลลา]] ปัจจุบันไฟร์ฟอกซ์เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมอันดับ 3 รองจาก[[อินเทอร์เน็ต เอกซ์พลอเรอร์]]และ[[กูเกิล โครม]] และเมื่อแบ่งตามรุ่นของแต่ละเบราว์เซอร์ ไฟร์ฟอกซ์ รุ่น 3.5 เป็นเบราว์เซอร์ที่มีคนใช้มากที่สุดในโลก<ref>[http://www.blognone.com/node/14341 Firefox 3.5 แซง IE7 เป็นเบราว์เซอร์ที่มีคนใช้มากที่สุด]</ref><ref>[http://gs.statcounter.com/#browser_version-ww-daily-20100120-20100120-bar Top 8 Browsers Versions]</ref> ไฟร์ฟอกซ์มีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ทั่วโลกร้อยละ 24.61<ref>[http://marketshare.hitslink.com/browser-market-share.aspx?qprid=0 สัดส่วนการใช้งานเว็บเบราว์เซอร์]</ref> และมีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ในประเทศไทยร้อยละ 15.28<ref>[http://truehits.net/graph/graph_stat.php#WEB สถิติการใช้เว็บเบราว์เซอร์ต่างๆ ในการดูหน้าเว็บเพจ]</ref> (ข้อมูลเมื่อธันวาคม พ.ศ. 2552) 21 ตุลาคม 2554
 
ไฟร์ฟอกซ์ใช้[[เกกโก]]ตัว[[เรนเดอริงเอนจิน]][[โอเพนซอร์ซ]]ซึ่งจัดการตามมาตรฐานเว็บสอดคล้องกับทาง[[ดับเบิลยูธรีซี]]กำหนดไว้ และเพิ่มคำสั่งพิเศษเข้าไป คำสั่งไฟร์ฟอกซ์เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้โปรแกรมเมอร์ที่เรียกว่า "แอด-ออนส์" ทำงานร่วมกับตัวโปรแกรม โดยปัจจุบันมีมากกว่า 2,000 ตัว<ref>[https://addons.mozilla.org/en-US/firefox/browse/type:1/cat:all แอด-ออนส์ทั้งหมดของไฟร์ฟอกซ์]</ref> โดยตัวที่นิยมมากที่สุดตามลำดับคือ [[ฟอกซีทูนส์]] (ควบคุมโปรแกรมเล่นเพลง) [[สตัมเบิลอัปออน]] (ค้นหาเว็บไซต์) [[แอดบล็อกพลัส]] (บล็อกโฆษณา) [[ดาวน์เดมออล!]] (ดาวน์โหลด) และ[[เว็บเดเวลอปเปอร์]] (เครื่องมือสำหรับทำเว็บ) <ref>[https://addons.mozilla.org/en-US/firefox/browse/type:1/cat:all/sort:popular?show=50 แอด-ออนส์ไฟร์ฟอกซ์ที่เป็นที่นิยม]</ref>
 
ไฟร์ฟอกซ์ทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการรวมถึง [[วินโดวส์]] [[แมคโอเอสเท็น]] [[ลินุกซ์]] รุ่นปัจจุบันคือรุ่น 12.0 ออกเมื่อวันที่ [[24 เมษายน]] [[พ.ศ. 2555]] ตัวโค้ดโปรแกรมเขียนขึ้นในภาษา [[C++]] [[XUL]] [[XBL]] และ [[จาวาสคริปต์]] โดยโค้ดทั้งหมดเปิดให้ใช้ฟรีภายใต้ลิขสิทธิ์ [[Mozilla Public License|MPL]] [[GNU General Public License|GPL]] / [[GNU Lesser General Public License|LGPL]] และ [[Mozilla EULA]] โดยที่ในรุ่นนี้ได้ทำารแก้Bugในรุ่น9.0ที่ทำให้เบราว์เซอร์Crashบนระบบปฏิบัติการหลักทั้งสามตัว ในกรณีที่ติดตั้งTools Barบางตัวลงไป
 
ไฟร์ฟอกซ์ในปัจจุบันรับรองการใช้ 75 [[ภาษา]]<ref name="รุ่น">[http://www.mozilla.org/products/firefox/all ภาษาที่ไฟร์ฟอกซ์สนับสนุน]</ref>
 
== ประวัติ ==
 
โครงการไฟร์ฟอกซ์ริเริ่มโดย [[เดฟ ไฮแอตต์]] และ [[เบลก รอสส์]] จากแนวความคิดการสร้างซอฟต์แวร์แยกย่อยมาจากโครงการมอซิลลา โดยตั้งใจพัฒนาโปรแกรมเดี่ยวที่ทำงานมุ่งเน้นสำหรับเป็นเว็บเบราว์เซอร์แยกออกมาจาก[[โปรแกรมชุดมอซิลลา]] (Mozilla Suite) โดยในวันที่ [[3 เมษายน]] [[พ.ศ. 2546]] มูลนิธิมอซิลลาได้ประกาศแผนการพัฒนามุ่งเน้นไปที่ไฟร์ฟอกซ์และ[[มอซิลลา ทันเดอร์เบิร์ด|ทันเดอร์เบิร์ด]]แทนที่โปรแกรมชุดมอซิลลา<ref>[http://www.mozilla.org/roadmap/roadmap-02-Apr-2003.html แผนงานพัฒนามอซิลลา]</ref>
 
ชื่อโครงการได้มีการเปลี่ยนชื่อหลายครั้งกว่าจะมาเป็นไฟร์ฟอกซ์ ซึ่งเริ่มต้นที่ชื่อ "ฟีนิกซ์" (Phoenix) ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนภายหลังจากมีปัญหาในด้านเครื่องหมายการค้ากับบริษัท[[ฟีนิกซ์เทคโนโลยี]]ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์[[ไบออส]] โดยเปลี่ยนมาเป็นชื่อ "ไฟร์เบิร์ด" (Firebird) และอีกครั้งได้มีปัญหาชื่อซ้ำซ้อนกับ[[ระบบจัดการฐานข้อมูล]][[ไฟร์เบิร์ด (ระบบจัดการฐานข้อมูล)|ไฟร์เบิร์ด]] และในวันที่ [[9 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2547]] ทางมูลนิธิมอซิลลาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งมาเป็น "ไฟร์ฟอกซ์" (Firefox) โดยใช้ชื่อย่อว่า Fx หรือ fx<ref>[http://www.mozilla.com/en-US/firefox/releases/1.5.html#FAQ ข่าวประกาศไฟร์ฟอกซ์ 1.5]</ref>
 
ไฟร์ฟอกซ์ 1.0 ได้เปิดให้ใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2547]] โดยระหว่างนั้นได้มีการปรับแก้ตลอดเวลารวมถึงเพิ่มระบบความปลอดภัยให้กับตัวซอฟต์แวร์ โดยรุ่นถัดมาคือ ไฟร์ฟอกซ์ 1.5 ที่ออกมาเมื่อ [[29 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2548]] และตามมาด้วย ไฟร์ฟอกซ์ 2 เมื่อวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ซึ่งในปัจจุบันไฟร์ฟอกซ์ 3 กำลังอยู่ในขั้นทดสอบ
 
ผู้นำโครงการปัจจุบันคือ [[เบน กูดเจอร์]] (Ben Goodger - ปัจจุบันเป็นพนักงานของ[[กูเกิล]] แต่ยังคงทำหน้าที่นี้อยู่) ปัจจุบันมีผู้ดาวน์โหลดไปมากกว่า 100 ล้านชุด และปริมาณการใช้ในแถบ[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]]สูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[ประเทศฟินแลนด์]]
 
=== สัญลักษณ์ ===
 
สัญลักษณ์ของไฟร์ฟอกซ์ออกแบบโดย [[จอน ฮิกส์]] ถึงแม้ว่าตัวโปรแกรมจะเป็น[[ซอฟต์แวร์เสรี]]และ[[โอเพนซอร์ส]] แต่สัญลักษณ์นี้เป็นเครื่องหมายการค้าของ[[มูลนิธิมอซิลลา]] ดังนั้นผู้อื่นที่เผยแพร่ซอฟต์แวร์นี้จึงไม่สามารถใช้สัญลักษณ์นี้ได้ (เช่น ไฟร์ฟอกซ์ของโครงการ[[เดเบียน]] เป็นต้น)
 
=== รุ่นการพัฒนา ===
เส้น 1,660 ⟶ 1,640:
* Mozilla Thai Line-breaking Extension พัฒนาโดย บริษัท โอเพนซอร์สดิเวลอปเมนต์ จำกัด (Osdev)<ref>[http://web.archive.org/web/20071224021330/http://www.osdev.co.th/index.php?option=com_content&task=view&id=115&Itemid=1 ทดสอบ Thai Line-breaking Extension beta 0.1.1 สำหรับ Windows] เรียกคืนจาก [[Archive.org]] ปัจจุบันไม่มีให้ดาวน์โหลดในเว็บไซต์หลักแล้ว</ref>
* Thai Words Separator พัฒนาโดย วรินทร์ เหล่าเจริญ (vavar)<ref>[https://addons.mozilla.org/en-US/firefox/addon/2666 Thai Words Separator 0.2.0.1]</ref> ซึ่งเป็นการประยุกต์มาจาก[[จาวาสคริปต์]] thaiwrap ของ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล (bact')<ref>[http://siit.net/members/art/thaiwrap.html ThaiWrap bookmarklet / ตัวตัดบรรทัดข้อความไทย]</ref>
ปัจจุบันไฟร์ฟอกซ์รุ่น 3 เป็นต้นไป ไม่ต้องใช้แอดออนเหล่านี้แล้ว สามารถรองรับการตัดคำได้เป็นอย่างดี และมีหน้าตาภาษาไทยอย่างเป็นทางการ<ref name="รุ่น">[http://www.mozilla.org/products/firefox/all ภาษาที่ไฟร์ฟอกซ์สนับสนุน]</ref>
 
== ความสามารถของไฟร์ฟอกซ์ ==