ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช้างเอเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
'''ช้างเอเชีย''' ({{lang-en|Asian elephant}}) จัดอยู่ในประเภท[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]][[species|ชนิด]] ''Elephas maximus'' ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] [[Elephantidae]] มีขนาดเล็กกว่า[[ช้างแอฟริกา]] รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริกา <ref>หน้า 93, ''สัตว์สวยป่างาม'' โดย ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ([[สิงหาคม]], 2518) </ref>
 
== ลักษณะและนิเวศวิทยาศาสตร์อิอิ ==
ลำตัวมี[[สีเทา]] จมูกยื่นยาวเรียกว่า งวง โดยงวงของช้างเอเชียจะมีเพียงจะงอยเดียว ต่างจากช้างแอฟริกาที่มี 2 จะงอย และมีโพรงสมองบริเวณหน้าผากกว้างกว่าช้างแอฟริกา เนื่องจากมีฮอร์โมนสมองมากกว่า ดังนั้นช้างเอเชียจึงเป็นช้างที่เฉลียวฉลาด สามารถนำมาฝึกหัดใช้งานและเชื่องกว่าช้างแอฟริกามาก<ref>''ทัวร์ช้างแม่สอด หนุนชาวช้างปูเต้อ'', "สกู๊ปหน้า 1". '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 67 ฉบับที่ 21268: วันพุธที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559: ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 5 ปีวอก</ref> ตัวผู้มีงายาวเรียก '''ช้างพลาย''' ถ้าไม่มีงาหรืองาสั้นเรียก '''ช้างสีดอ''' ในฤดูผสมพันธุ์มี[[ตกมัน|อาการดุร้าย]]มาก มีระยะเวลา[[ตั้งท้อง]]นานประมาณ 18-22 เดือน ออกลูกครั้งละตัว ตัวเมียเรียก '''ช้างพัง''' ส่วนใหญ่ไม่มีงาปรากฏให้เห็น แต่บางตัวมีงาสั้น ๆ ซึ่งเรียกว่า '''ขนาย'''<ref>[http://guru.sanook.com/dictionary/dict_royals/ขนาย/ ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> โผล่ออกมา ซึ่งงาของช้าแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ