ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุการณ์ 6 ตุลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Teng18009912 (คุย | ส่วนร่วม)
เป็นการแก้ไขที่เพิ่มเติมข้อมูล
เแก้ไขเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
ทหารชั่ว ตำรวจเลว
{{Infobox civilian attack
| title = เหตุการณ์ 6 ตุลาคม
| image = Beating corpse with a chair, 6 October 1976.jpg
| caption = ฝูงชนยิ้มขณะดูชายใช้เก้าอี้พับตีร่างของวิชิตชัย อมรกุล นักศึกษา ที่ถูกแขวนคอนอกมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ภาพ{{ไม่ตัดคำ|[[รางวัลพูลิตเซอร์]]}}ปี 2520)
| location = [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์ และบริเวณ[[ท้องสนามหลวง]]
| coordinates =
| target = กลุ่มนักศึกษาและประชาชนผู้ประท้วง
| date = 6 ตุลาคม 2519
| timezone = UTC +7
| type = การยิง, การใช้กระบอง, การแขวนคอ<ref name="Handley236"/>, การเผาทั้งเป็น<ref>Michael Leifer: ''Dictionary of the Modern Politics of South-East Asia'', article "Thammasat University Massacre 1976", Taylor & Francis, 1995, p. 163</ref>, การข่มขืนกระทำชำเรา<ref name="Handley236"/>
| fatalities = 46 คน (ทางการ); กว่า 100 คน (ข้อมูลมูลนิธิป๋วย อึ๊งภากรณ์)<ref name="Puey8">[[Puey Ungpakorn]], 1977, "Violence and the Military Coup in Thailand" ''Bulletin of Concerned Asian Scholars'', vol. 9, no. 3 (July–September), p8.</ref>
| injuries = 167 คน (ทางการ)
| perps = [[ตำรวจตระเวนชายแดน]] {{เล็ก|(พลตำรวจเอก ชุมพล โลหะชาละ เป็นผู้บังคับบัญชา)}}</small><br/>[[ลูกเสือชาวบ้าน]]<br/>[[ขบวนการกระทิงแดง]]<br/>[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ|ตำรวจนครบาล]]<ref name="Handley236"/>
| weapons = ปืนเล็กยาว[[เอ็ม16]], ปืนเล็กสั้น, ปืนพก, เครื่องยิงลูกระเบิด, [[ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง]]<ref name="Handley236"/>
}}
'''เหตุการณ์ 6 ตุลา''' เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้า[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์ และ[[ท้องสนามหลวง]] ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]] อดีต[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ปัจจัยอื่น ๆ เช่น การเดินทางกลับประเทศของจอมพล [[ประภาส จารุเสถียร]] ที่ได้หนีออกไปนอกประเทศอีกครั้ง, ความไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาล [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช|เสนีย์ ปราโมช]] และ การสังหารโหดช่างไฟฟ้า 2 คน ที่จังหวัดนครปฐมโดยฝั่งขวา โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี ถูกเผา ถูกข่มขืน หรือถูกทำให้พิการ โดยสถิติจากมูลนิธิป๋วยคาดการณ์ตัวเลขผู้เสียชีวิตมีมากกว่า 100 คน<ref name="Handley236">Handley, Paul M. ''[[The King Never Smiles]]: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej''. Yale University Press. ISBN 0-300-10682-3, p. 236.</ref>
 
หนึ่งวันก่อนเหตุการณ์ มีการตีพิมพ์ภาพถ่ายการแขวนคอจำลองโดยผู้ประท้วงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในสื่อ สำหรับฝ่ายที่ต่อต้านนักศึกษาในภาพถ่ายนั้นเหมือนกับกำลังแขวนคอหุ่นจำลอง[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]] เป็นผลให้กำลังกึ่งทหารที่โกรธแค้นมาชุมนุมกันนอกมหาวิทยาลัยในเย็นนั้น โดยมีสถานีวิทยุยานเกราะปลุกระดมให้เพิ่มความรุนแรงยิ่งขึ้น อ้างว่านักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ<ref name=":0">รวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย, หน้า 120</ref>
 
พลตำรวจโท [[ชุมพล โลหะชาละ]] รองอธิบดี[[กรมตำรวจ]] สั่งการโจมตีในรุ่งเช้า และ อนุญาตให้ยิงอย่างเสรีในวิทยาเขต [[คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน|คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง]]นำโดยพลเรือเอก [[สงัด ชลออยู่]] [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] ยึดอำนาจทันทีหลังสิ้นสุดเหตุการณ์ สมาชิกของคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองนั้นมีความคิดสายกลางกว่ากลุ่มของพลตรี [[ประมาณ อดิเรกสาร]] และความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองกลุ่ม ยังเป็นที่เข้าใจไม่มากนัก<ref name="Handley236"/> คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองแต่งตั้ง[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] ผู้ต่อต้านคอมมิวนิสต์ที่ยึดมั่นในหลักการ และ ผู้ที่พระมหากษัตริย์โปรด เป็นนายกรัฐมนตรี<ref name=":0" />
 
== เบื้องหลัง ==