ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสืบพันธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ DUANGHATHAIZTJ (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 1.47.231.221
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
dh[jkylt'mjd
บรรทัด 16:
* '''[[การแตกหน่อ]]''' (Budding) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น [[ไฮดรา]] [[ยีสต์]] และยังพบในพืชอีกด้วยเช่น หน่อไม้ ไผ่
* '''การแบ่งตัวออกเป็นสอง''' (Binary fission) สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งแบ่งเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่แบบเท่าๆกัน โดยเริ่มจากการแบ่งนิวเคลียส และตามด้วยไซโทพลาสซึม สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา และแบคทีเรีย
* '''การขาดออกเป็นท่อน''' (Fragmen MMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMM
* '''การขาดออกเป็นท่อน''' (Fragmentation) ส่วนที่หลุดไปจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไปเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ โดย[[เซลล์]]ในส่วนที่หลุดไปนั้นเกิดรีเจนเนอเรชั่น (regeneration) กลับเป็น[[เนื้อเยื่อเจริญ]]ได้อีก ตัวอย่างเช่น [[ดาวทะเล]]
*
* '''การสร้างสปอร์''' (Spore formation) คือการแบ่งนิวเคลียสออกเป็นหลายๆนิวเคลียส ต่อจากนั้นไซโทพลาซึมจะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้นเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนจะมีนิวเคลียส 1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore) สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ พลาส-โมเดียมซึ่งเป็นสัตว์ที่ทำให้เกิดโรคไข้มาลาเรีย สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ เห็ด รา ยีสต์
* '''พาร์ธีโนเจนเนซิส''' (Parthenogenesis) คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของแมลงบางชนิด โดยสามารถวางไข่แบบไม่อาศัยการปฏิสนธิ เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ เพลี้ย ไรน้ำ ซึ่งตัวเมียสามารถผลิตไข่ที่ฟักเป็นตัวได้โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิในสภาวะปกติไข่ของสัตว์ดังกล่าวจะฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ แต่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้งหนาวเย็น หรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียก็จะผลิตไข่ที่ฟักออกเป็นทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นสัตว์ตัวผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์กันแล้วตัวเมียจะออกไข่ที่มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวได้ ในผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามีการสืบพันธุ์แบบพาร์ธีโนเจเนซิสด้วยเช่นกัน โดยไข่ไม่ต้องมีการปฏิสนธิก็สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้ ซึ่งจะฟักออกมาเป็นตัวผู้เสมอ