ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เห็ดรา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Yo
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| color = rgb(145,250,250)
| name = เห็ดรา
| fossil_range = ต้น[[ยุคดีโวเนียน]] – ปัจจุบัน {{fossilrange|410|0|}}
| image = Fungi_collage.jpg
| image_width = 280px
| image_caption = ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน: ''[[Amanita muscaria]]'', a basidiomycete; ''[[Sarcoscypha coccinea]]'', an ascomycete; bread covered in [[mold]]; a chytrid; a ''[[Penicillium]]'' [[conidiophore]].
| image_alt = A collage of five fungi (clockwise from top left) : a mushroom with a flat, red top with white-spots, and a white stem growing on the ground; a red cup-shaped fungus growing on wood; a stack of green and white moldy bread slices on a plate; a microscopic, spherical grey-colored semitransparent cell, with a smaller spherical cell beside it; a microscopic view of an elongated cellular structure shaped like a microphone, attached to the larger end is a number of smaller roughly circular elements that collectively form a mass around it
| domain = [[ยูแคริโอต]]
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[ยูนิคอนตา]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โอพิสโธคอนตา]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โฮโลไมโคตา]]}}
| regnum = '''เห็ดรา'''
| regnum_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]], 1753) R.T. Moore, 1980<ref>{{cite journal |author = Moore RT. | year=1980| title=Taxonomic proposals for the classification of marine yeasts and other yeast-like fungi including the smuts | journal=Botanica Marine | volume=23 | pages=361–73}}</ref>
| subdivision_ranks = อาณาจักรย่อย/ไฟลัม/ไฟลัมย่อย<ref>The classification system presented here is based on the 2007 phylogenetic study by Hibbett ''et al''.</ref>
| subdivision =
: [[Blastocladiomycota]]
: [[Chytridiomycota]]
: [[Glomeromycota]]
: [[Microsporidia]]
: [[Neocallimastigomycota]]
[[Dikarya]] (inc. [[Deuteromycota]]) <br/>
: [[Ascomycota]]
:: [[Pezizomycotina]]
:: [[Saccharomycotina]]
:: [[Taphrinomycotina]]
: [[Basidiomycota]]
:: [[Agaricomycotina]]
:: [[Pucciniomycotina]]
:: [[Ustilaginomycotina]]
Subphyla ''[[Incertae sedis]]''
: [[Entomophthoromycotina]]
: [[Kickxellomycotina]]
: [[Mucoromycotina]]
: [[Zoopagomycotina]]
}}
'''เห็ดรา''' ({{lang-en|Fungus}}) คือสิ่งมีชีวิตใดๆ ในกลุ่ม[[ยูแคริโอต]] ซึ่งประกอบด้วยทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอย่าง[[ยีสต์]]และ[[รา]] และสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ที่ออกผลคล้ายกับพืช [[เห็ด]] สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกจัดลงอยู่ใน'''อาณาจักรเห็ดรา''' ซึ่งแยกออกจากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์กลุ่มอื่นๆ ที่เป็น[[พืช]]และ[[สัตว์]]
 
ลักษณะเฉพาะที่จัดเห็ดราให้อยู่แยกในอาณาจักรอื่นจากพืช แบคทีเรีย และโพรทิสต์บางชนิด คือ ไคตินที่ผนังเซลล์ เห็ดราเหมือนกับสัตว์ตรงที่เป็นสิ่งมีชีวิต[[เฮเทโรทรอพ]] กล่าวคือเป็นสิ่งมีชีวิตที่ได้รับอาหารโดยการย่อยโมเลกุลอาหารให้มีขนาดเล็กพอกับเซลล์ และไม่สามารถ[[การสังเคราะห์ด้วยแสง|สังเคราะห์ด้วยแสง]]ได้เช่นกัน การเติบโตของเห็ดราแสดงถึงการเคลื่อนไหวที่ชัดเจน ยกเว้นสปอร์ ที่อาจจะลอยไปตามอากาศหรือน้ำ เห็ดราเป็นผู้ย่อยสลายหลักในระบบนิเวศ ตามปกติเห็ดราโดยทั่วไปที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน ที่ไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนในอาณาจักรก็ตาม เรียกว่า''ยูเมโคตา'' (Eumycota) กลุ่มเห็ดรานี้แตกต่างจาก [[ไมเซโตซัว]] ([[ราเมือก]]) และ[[โอไมซีต]] (ราน้ำ) ที่มีโครงสร้างคล้ายกัน การศึกษาเกี่ยวกับเห็ดรา เรียกว่า กิณวิทยา ในอดีตกิณวิทยาถูกจัดเป็นหนึ่งในสาขาของพฤกษศาสตร์ แม้ว่าทุกวันนี้จะเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า เห็ดรามีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับสัตว์มากกว่าพืช
 
เห็ดราพบได้ทั่วโลก แต่ส่วนมากไม่มีความโดดเด่นเพราะมีขนาดเล็ก และมี[[การพรางตัว]]ในดินหรือบนสิ่งที่ตายแล้ว เห็ดราบางชนิดยังมี[[ภาวะพึ่งพาอาศัยกัน|การพึ่งพาอาศัย]]จากพืช สัตว์ เห็ดราประเภทอื่นหรือกระทั่ง[[ปรสิต]] พวกมันจะเริ่มเป็นที่สังเกตได้เมื่อออกผลแล้ว ไม่ว่าจะเป็นเห็ดหรือราก็ตาม เห็ดรามีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายสารอินทรีย์และมีบทบาทโดยพื้นฐานใน[[วัฏจักรชีวธรณีเคมี|วัฏจักร]]สารอาหารและการแลกเปลี่ยนในธรรมชาติ พวกมันยังเป็นแหล่งอาหารโดยตรงมานานแล้ว ในรูปของเห็ด เป็นหัวเชื้อในการทำขนมปัง และใน[[การหมัก]]ผลิตภัณฑ์หลายๆ อย่าง เช่น [[ไวน์]] [[เบียร์]] และ[[ซีอิ๊ว]] ตั้งแต่ช่วงคริสตทศวรรษที่ 1940 เห็ดราถูกนำมาใช้ในการแพทย์ เพื่อผลิต[[ยาปฏิชีวนะ]] และล่าสุด นำมาใช้ผลิต[[เอนไซม์]]มากมาย ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมและใน[[ผงซักฟอก]] เห็ดรายังถูกใช้เป็นปราบแมลง โรคในพืช และวัชพืชต่างๆ สายพันธุ์มากมายของเห็ดราผลิตสารประกอบที่ออกฤทธิ์กับสิ่งมีชีวิต เรียกว่า [[พิษเห็ดรา|ไมโซโทซิน]] เช่น [[อัลคาลอยด์]]และ[[พอลิเคไทด์]] ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ โครงสร้างในบางสายพันธุ์ประกอบด้วยสารประกอบที่ออกฤทธิ์ต่อประสาท และถูกใช้บริโภค หรือในพิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม เห็ดรายังสามารถทำลายโครงร่างของวัตถุดิบและสิ่งก่อสร้างได้ และกลายเป็นเชื้อโรคแก่มนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ การสูญเสียไร่เนื่องจากโรคทางเห็ดรา (เช่น [[Magnaporthe grisea|โรคไหม้]]) หรืออาหารที่เน่าเสียสามารถมีผลกระทบขนาดใหญ่กับ[[การเก็บรักษาอาหาร|คลังอาหาร]]ของมนุษย์และระบบนิเวศโดยรอบ
 
อาณาจักรเห็ดราประกอบไปด้วยความหลากหลายมากมายด้วยระบบนิเวศ การดำเนินชีวิต และ[[สัณฐานวิทยา (ชีววิทยา)|สัณฐาน]] ตั้งแต่ไคทริดน้ำเซลล์เดียวไปจนถึงเห็ดขนาดใหญ่ ถึงกระนั้น ความหลากหลายทางชีวภาพที่แท้จริงของอาณาจักรเห็ดรายังไม่มีข้อมูลมากนัก ซึ่งได้มีการประมาณจำนวนสายพันธุ์ไว้ที่ 1.5 - 5 ล้านสายพันธุ์ โดยทีเพียง 5 % เท่านั้นที่ได้รับการจำแนกประเภทแล้ว นับตั้งแต่การสำรวจในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 โดย[[คาโรลัส ลินเนียส|คาร์ล ลินเนียส]] [[คริสเตียน เฮนดริก เพอร์ซูน]] และ[[เอเลียส แมกนัส ฟรีส์]] เห็ดราได้ถูกจำแนกประเภทตามสัณฐาน (เช่นสีของสปอร์ หรือลักษณะในระดับเล็กๆ) หรือ[[สรีรวิทยา|รูปร่าง]] ความก้าวหน้าใน[[อณูพันธุศาสตร์]]ได้เปิดทางให้สำหรับ[[การหาลำดับดีเอ็นเอ|การวิเคราะห์ดีเอ็นเอ]] เพื่อจัดลำดับตามอนุกรมวิธาน ซึ่งบางครั้งได้ขัดแย้งกับกลุ่มพันธุ์ที่ได้จัดไว้ก่อนในอดีตแล้ว การศึกษาในไม่กี่คริสต์ศตวรรษที่ผ่านมาได้ช่วยให้มีการตรวจสอบการจัดจำแนกประเภทใหม่ภายในอาณาจักรเห็ดรา ซึ่งได้แบ่งออกเป็นหนึ่ง[[อาณาจักรย่อย]] เจ็ด[[ไฟลัม]] และสิบ[[ไฟลัมย่อย]]
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
{{โครงส่วน}}
== ลักษณะ ==
{{โครงส่วน}}
== ความหลากหลาย ==
{{โครงส่วน}}
== กิณวิทยา ==
{{โครงส่วน}}
== สัณฐาน ==
{{โครงส่วน}}
== การเติบโตและสรีรวิทยา ==
{{โครงส่วน}}
== การสืบพันธุ์ ==
{{โครงส่วน}}
== วิวัฒนาการ ==
{{โครงส่วน}}
== อนุกรมวิธาน ==
{{โครงส่วน}}
== นิเวศวิทยา ==
{{โครงส่วน}}
== เห็ดราพิษ ==
{{โครงส่วน}}
== กลไกที่ทำให้เกิดโรค ==
{{โครงส่วน}}
== การนำมาใช้ของมนุษย์ ==
{{โครงส่วน}}
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{Nature nav}}
[[หมวดหมู่:เห็ดรา| ]]
[[หมวดหมู่:อาณาจักร (ชีววิทยา)]]
I love u so much
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เห็ดรา"