ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำฝนเทียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ใใใ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
{{โครงส่วน}}
 
== ส ==
== สารเคมีที่ใช้ทำฝนเทียม ==
สารเคมีประเภทคลายความร้อนหรือทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น''' (Exothermic chemical)
ปัจจุบันนี้มีใช้ในการทำฝนเทียมในประเทศไทย 3 ชนิด คือ
* แคลเซียมคาร์ไบด์ (Calcium carbide; CaC2)
* แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride; CaCl2)
* แคลเซียมออกไซด์ (Calcium oxide; CaO)
'''สารเคมีประเภทดูดกลืนความร้อนหรือทำให้อุณหภูมิต่ำลง''' (Endothermic chemicals)
ปัจจุบันมีการใช้สารเคมีประเภทนี้อยู่ 3 ชนิด คือ
* ยูเรีย (Urea; CO(NH2)2)
* แอมโมเนียไนเตรด (Ammoniumnitrate; NH4N03)
* น้ำแข็งแห้ง (Dry ice; CO2(S))
'''สารเคมีที่ทำหน้าที่ดูดซับความชื้นประการเดียว'''
* เกลือ (Sodium chloride; NaCl)
* สารเคมีสูตร ท.1
 
การทำฝนเทียมนั้นใช้เพื่อประโยชน์หลากหลาย เช่น การเกษตร ดับไฟป่า หรือกระทั่งเพื่อป้องกันการตกของฝนในวันที่กำหนด เช่นใน[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2008]] ที่[[ประเทศจีน]]<ref>[http://en.beijing2008.cn/news/dynamics/headlines/n214124996.shtml China practices artificial rain reduction for sunny Olympics], [[สำนักข่าวซินหัว]], [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2550]]</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}