ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนวนไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
# รักเบสโว้ยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย
'''สำนวนไทย''' คือถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่<ref>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน</ref>หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า '''สำนวน''' คือถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือความที่เรียบเรียงขึ้นในเชิงอุปมาอุปมัยโดยมีนัยแฝงเร้นซ่อนอยู้อย่างลึกซึ้ง แยบคาย เพื่อให้ผู้รับได้ไปตีความ ทำความเข้าใจด้วยตนเองอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งอาจแตกต่างไปความหมายเดิมหรืออาจคล้ายคลึงกับความหมายเดิมก็ได้ สันนิษฐานว่า [[สำนวน]]นั้นมีอยู่ในภาษาพูดก่อนที่จะมีภาษาเขียนเกิดขึ้นในสมัย[[สุโขทัย]] โดยเมื่อพิจารณาจากข้อความใน[[ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง]]แล้ว ก็พบว่ามีสำนวนไทยปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ เช่น ''ไพร่ฟ้าหน้าใส'' หมายถึง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข
 
== การแบ่งประเภท ==
# '''การแบ่งตามมูลเหตุ'''
## หมวดที่เกิดจาก[[ธรรมชาติ]] เช่น ตื่นแต่ไก่โห่ ปลากระดี่ได้น้ำ แมวไม่อยู่หนูร่าเริง ไก่แก่แม่ปลาช่อน
## หมวดที่เกิดจากการกระทำ เช่น ไกลปืนเที่ยงสาวไส้ให้กากิน ชักใบให้เรือเสีย ปิดทองหลังพระ สี่เท้ายังรู้พลาด นักปราชญ์ยังรู้พลั้ง