ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดอลลี (แกะ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สัตว์|name=ดอลลี|image=Dolly face closeup.jpg|caption=ร่าง<span style="color: rgb (0, 0, 0) ; font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 13px;">สตัฟของดอลลี</span>|othername=6LLS (code name)|species=[[แกะ|แกะเลี้ยง Finn-Dorset]]|gender=เมีย|birth_date=5 กรกฎาคม 2539|birth_place=สถาบันรอสลิน [[เอดินบะระ|เมืองเอดินบะระ]] ประเทศสกอตแลนด์|death_date=14 กุมภาพันธ์ 2546 (อายุ 6 ปี)|death_place=สถาบันรอสลิน [[เอดินบะระ]] ประเทศสกอตแลนด์|resting_place=[[พิพิธภัณฑ์แห่งชาติสกอตแลนด์]] (จัดแสดงซาก)|nationality=อังกฤษ|known=สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโคลนตัวแรกซึ่งถูกโคลนจากเซลล์ร่างกายที่โตเต็มวัย|children= ลูกแกะ 6 ตัว (บอนนี่; คู่แฝด แซลลีและโรซี แฝดสาม ลูซี ดาร์ซี และคอตตอน)|namedafter=[[ดอลลี พาร์ตัน]]<ref name="BBC-97"/>}}
 
'''ดอลลี''' ({{lang-en|Dolly}}) (5 กรกฎาคม 2539 – 14 กุมภาพันธ์ 2546) เป็น [[แกะ]]เลี้ยงเพศเมีย และเป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ตัวแรกที่ถูกโคลนจาก[[เซลล์ร่างกาย]] (somatic cell) ของสัตว์โตเต็มวัย โดยใช้วิธี[[ถ่ายฝากนิวเคลียส]] (nuclear transfer)<ref>{{Cite journal|author=McLaren A |title=Cloning: pathways to a pluripotent future |journal=Science |volume=288 |issue=5472 |pages=1775–80 |date=2000 |pmid=10877698 |doi=10.1126/science.288.5472.1775}}</ref><ref name=Wilmut>{{Cite journal|display-authors=4|author=Wilmut I|author2=Schnieke AE|author3=McWhir J|author4=Kind AJ|author5=Campbell KH |title=Viable offspring derived from fetal and adult mammalian cells |journal=Nature |volume=385 |issue=6619 |pages=810–3 |date=1997 |pmid=9039911 | doi=10.1038/385810a0 |bibcode=1997Natur.385..810W}}</ref> ดอลลีถูกโคลนโดย [[เอียน วิลมุต]] (Ian Wilmut) [[คีธ แคมป์เบล]] (Keith Campbell) และผู้ร่วมงาน ณ สถาบันรอสลิน (Roslin Institute) ส่วนหนึ่งของ[[มหาวิทยาลัยเอดินบะระ]] ประเทศสกอตแลนด์ และบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ PPL Therapeutics ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับ[[เอดินบะระ]] เงินทุนในการโคลนดอลลีมาจากบริษัท PPL Therapeutics และกระทรวงการเกษตรของสหราชอาณาจักร<ref name=j1>{{Cite journal | doi = 10.1080/00141844.1999.9981606| title = Why dolly matters: Kinship, culture and cloning| journal = Ethnos| volume = 64| issue = 3–4| pages = 301–324| year = 1999| last1 = Edwards | first1 = J. }}</ref> มันเกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 และตายด้วยโรคทางปอดเมื่ออายุได้ 6 ปี 7 เดือน<ref name=BBC>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/2764039.stm "Dolly the sheep clone dies young"]. BBC News. 14 February 2003</ref>าร์ตัน]] หลายสื่อ เช่นได้"<ref name="BBC News และ ''Scientific American'' ยกย่องให้มันเป็น -97"แกะดังที่สุดในโลก"<ref>{{Citecite news| url=http://news.bbc.co.uk/1onthisday/hi/scidates/techstories/353617february/22/newsid_4245000/4245877.stm |title=Is Dolly old before her time? |date=27 May 1999 |work=[[BBC News]] |accessdate title=41997: OctoberDolly 2009the |sheep location=London}}</ref><ref>{{Citeis news|url=http://www.sciam.com/article.cfm?id=no-more-cloning-around|title=Nocloned More Cloning Around|last=Lehrman |first=Sally|date=July 2008|work=[[Scientific American]]|accessdate=2122 SeptemberFebruary 20081997}}</ref>
 
เซลล์ที่ใช้เป็นผู้บริจาคเพื่อโคลนดอลลี ถูกนำมาจาก [[Mammary gland|ต่อมน้ำนม]] และการที่สามารถสร้างโคลนที่แข็งแรงได้นั้นเป็นตัวพิสูจน์ว่า เซลล์จากส่วนหนึ่งของร่างกายสามารถนำมาสร้างสิ่งมีชีวิตได้ทั้งตัว วิลมุตกล่าวเกี่ยวกับชื่อของดอลลีว่า "ดอลลีมาจากเซลล์ต่อมน้ำนม และพวกเราไม่สามารถนึกถึงต่อมน้ำนมที่น่าประทับใจมากกว่าของ[[ดอลลี พาร์ตัน]] ได้"<ref name="BBC-97">{{cite news| url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/february/22/newsid_4245000/4245877.stm | work=BBC News | title=1997: Dolly the sheep is cloned | date=22 February 1997}}</ref>
 
== การเกิด ==