ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพอากาศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fry1989 (คุย | ส่วนร่วม)
File renamed. (GlobalReplace v0.6.5)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 61:
 
นอกจากนี้ กองทัพอากาศดอนเมือง ยังเคยเป็นสถานที่แข่งขันรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์อัจฉริยะข้ามคืน ล้านที่ 3 อีกด้วย
 
=== ประวัติ ===
 
แนวความคิดที่ให้มีเครื่องบินใช้ในราชการ ได้เริ่มขึ้นในรัชสมัยของ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ ๖]] เมื่อชาวเบลเยี่ยมชื่อ Van Den Born ได้นำเครื่องบินแบบออร์วิลไรท์มาแสดงการบินในประเทศไทยเป็นครั้งแรก ณ [[สนามม้าสระปทุม]] เพื่อเป็นการแสดงการบินสู่สายตาประชาชนชาวไทยในวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2453]] (ค.ศ. 1911) [[จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ]] ขณะนั้นทรงดำรงตำแหน่ง[[เสนาธิการทหารบก]]ทรงเห็นความจำเป็นที่ประเทศไทยจะต้องจัดหาอากาศยานไว้ป้องกันประเทศ จึงทรงดำริจัดตั้งกิจการการบินขึ้นเป็นแผนกหนึ่งของ[[กองทัพบก]] อยู่ที่[[สนามราชกรีฑาสโมสร]] (สนามม้าสระปทุม) อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลโท [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน|พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมขุนกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน]] จเรทหารช่าง และส่งนายทหารไปเรียนวิชาการบินที่[[ประเทศฝรั่งเศส]] จำนวน 3 นายประกอบด้วย
 
* นายพันตรี หลวงศักดิ์ศัลยาวุธ (สุณี สุวรรณประทีป) ต่อมาเป็น พลอากาศโท [[พระยาเฉลิมอากาศ]]
* นายร้อยเอก หลวงอาวุธสิขิกร (หลง สินศุข) ต่อมาเป็น นาวาอากาศเอก [[พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์]]
* นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต ต่อมาเป็น นาวาอากาศเอก [[พระยาทะยานพิฆาต]]
 
ทั้งสามท่านได้เข้าเรียนที่บริษัทนีเออร์ปอร์ต (Nieuport Company) ในเดือนมกราคมปี [[พ.ศ. 2454]]
 
หลังจากท่านทั้งสามสำเร็จวิชาการบิน ก็ได้ซื้อเครื่องบิน 2 แบบ 8 ลำ คือ Nieuport และ Breguet แบบละ 4 ลำ โดยระยะแรกได้ใช้สนามม้าสระปทุมเป็นสนามบิน แต่ด้วยปัญหาบางประการทำให้สนามม้าสระปทุมไม่สามารถรองรับกิจการการบินที่เติบโตขึ้นได้ จอมพลสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ ทรงย้ายที่ตั้งแผนกการบิน มาที่[[เขตดอนเมือง|ตำบลดอนเมือง]]ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2457 และทรงยกฐานะแผนกการบิน เป็น'''"กองบินทหารบก"''' ในวันที่ [[27 มีนาคม]] พ.ศ. 2457 ต่อมา[[กระทรวงกลาโหม]]ได้ยึดถือวันนี้เป็น '''"วันที่ระลึกกองทัพอากาศ"'''
 
หลังจากนั้นกิจการการบินได้เติบโตเรื่อยมา โดยกองบินทหารบกได้เข้าร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] กับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]] กองบินทหารบกจึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น '''"กรมอากาศยานทหารบก"''' หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2464 ด้วยการเติบโตของกำลังทางอากาศ จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น '''"กรมทหารอากาศ"''' และวันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2480]] จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น '''"กองทัพอากาศ"''' มียศและเครื่องแต่งกายเป็นของตนเอง โดยนาวาอากาศเอก [[พระเวชยันต์รังสฤษฎ์]] เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรก จึงถือเอาวันนี้เป็น '''"วันกองทัพอากาศ"''' และยกย่องถวายพระเกียรติ[[จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ]] ว่าเป็น '''"พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย"''' และยกย่องนายทหาร 3 ท่าน ที่ไปเรียนวิชาการบินรุ่นแรกว่าเป็น '''"บุพการีทหารอากาศ"'''
 
กองทัพอากาศได้สร้างวีรกรรมและยุทธเวหาไว้มากมาย โดยเข้าร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] และ[[กรณีพิพาทอินโดจีน|สงครามอินโดจีน]] สามารถสร้างความพรั่นพรึงให้กับอริราชศัตรูของชาติได้อย่างมาก
 
ปัจจุบัน กองทัพอากาศมีกำลังทางอากาศทั้งสิ้น 11 กองบิน กับ 1โรงเรียนการบิน โดยมีอากาศยานรวมเกือบ 320 ลำ
 
นอกจากนี้ กองทัพอากาศดอนเมือง ยังเคยเป็นสถานที่แข่งขันรายการ[[เกมโชว์]]ทาง[[โทรทัศน์]][[อัจฉริยะข้ามคืน]] [[อัจฉริยะข้ามคืน ล้านที่ 3|ล้านที่ 3]] อีกด้วย
 
== ภารกิจ ==