ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มังกรคาบแก้ว (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
'''ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ''' เป็นประเพณีที่ชาว[[จังหวัดเพชรบูรณ์]] ได้ร่วมมือกันจัดขึ้นในวันแรมสิบห้าค่ำเดือนสิบ ซึ่งประวัติความเป็นมาของประเพณีอุ้มพระดำน้ำก็คือ เมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านมามีชาวบ้านกลุ่มหนึ่งมีอาชีพหาปลาขาย และได้ไปหาปลาที่แม่น้ำป่าสักเป็นประจำทุกวัน อยู่มาวันหนึ่งก็ได้เกิดเรื่องที่ไม่มีใครให้คำตอบได้ว่า เกิดอะไรขึ้นเพราะวันนั้น ไม่มีใครจับปลาได้สักตัว จากนั้นก็เกิดเหตุการณ์ประหลาดขึ้นตรงบริเวณ วังมะขามแฟบ (ไม้ระกำ) ซึ่งปกติบริเวณนี้น้ำจะไหลเชี่ยวมาก จู่ ๆ น้ำก็หยุดไหล และมีพลายน้ำผุดขึ้นมา แล้วพระพุทธรูปก็ผลุดขึ้นมาด้วย ชาวบ้านจึงได้อัญเชิญพระพุทธรูปองค์ดังกล่าว ขึ้นจากน้ำและนำไปประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิ เป็น[[พระพุทธรูป]]คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์ จนกระทั่งถึง[[วันสารทไทย]]หรือ วันแรม 15 ค่ำเดือนสิบ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าว (พระพุทธมหาธรรมราชา) ก็ได้หายไปจากวัด ชาวบ้านจึงช่วยกันตามหาและเจอพระพุทธรูป อยู่บริเวณวังมะขามแฟบรูบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ

มแฟบ จากนั้นเป็นต้นมา พอถึงวันแรม 15 ค่ำเดือน 10 ชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ ก็จะจัดงานซึ่งเรียกว่า “อุ้มพระดำน้ำ”<ref>ฤทธิ์พงษ์ อำพัน/เอกสิทธิ์ ต่อวัฒนบุญ. ตื่นตา!ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก อุ้มพระดำน้ำสืบสานวัฒนธรรมดีงาม. '''เดลินิวส์'''. ฉบับที่ 23,360. วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2556. ISSN 16860004. หน้า 16</ref> ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==