ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
น้ำป่าเป็นภัยพิบัติธรรมชาติที่สามารถบ่งชี้พื้นที่ที่มีศักยภาพที่จะเกิดได้แน่นอน การกำหนดพื้นที่บริเวณทางน้ำป่าและน้ำหลากที่รุนแรงจากระดับมากถึงน้อยเป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย ชัดเจน แม่นยำและมีราคาถูกโดยการใช้[[เทคโนโลยี]]ภาพ[[ถ่ายดาวเทียม]]และ[[ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์]] (จีไอเอส) ที่มีใช้กันโดยทั่วไป ปัญหาของประเทศไทยในปัจจุบัน โดยเฉพาะในส่วนของภาครัฐฯ และฝ่ายนิติบัญญัติคือการขาดความตระหนักและการให้ความสำคัญในด้านนี้ ถึงแม้[[กรมทรัพยากรธรณี]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]จะได้จัดทำแผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อพิบัติภัยดินถล่มไว้บ้างแล้ว ก็ยังไม่มีการตรากฎหมายและนโยบายการตั้งถิ่นฐานระดับชาติที่เน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศในบริเวณนอกเขตเมืองที่ไม่ใช่อุทยานแห่งชาติหรือเขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่า
 
ส่วนในเขตเมืองที่เป็นทางน้ำหลากและพื้นที่น้ำท่วม เช่น [[หาดใหญ่]] [[เชียงใหม่]] และเกือบทุกเมืองที่ถูกน้ำท่วมเป็นประจำนั้นเกณฑ์ที่[[นักผังเมือง]]นำมาพิจารณาในการกำหนดเขตการใช้ที่ดินมักเน้นปัจจัยด้าน[[เศรษฐกิจ]]-[[สังคม]] และทาง[[รัฐศาสตร์]]หรือ[[การเมือง]] ไม่ใช้หลักการ[[พื้นที่พิบัติจากภัยธรรมชาติ]]มาเป็นเกณฑ์ (planning criteria)ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นแม้ใน[[การวางผังการใช้ที่ดิน]]ใน|พื้นที่ที่ถูกคลื่น[[สึนามิพิบัติควายยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย]]ทำลายครั้งใหญ่ที่สุดเมื่อปลายปี พ.ศ. 2547{{รายการอ้างอิง}}
* การวางผังบริเวณ, คำสอน [[ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม|ม]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] 2538
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.srh.noaa.gov/tadd/ Flash Flood, องค์การสมุทรศาตร์และบรรยากาศแห่งชาติ (NOAA)]
* [http://www.dartmouth.edu/~floods/index.html Darthmouth Flood Observatoty]
* การวางผังบริเวณ, คำสอน [[ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] 2538
{{จบอ้างอิง}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/น้ำป่า"