ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิโคลา เทสลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบข้อมูลที่มโนขึ้นมาเอง
บรรทัด 45:
 
== เสียชีวิต ==
 
วันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1943 ร่างของนิโคลา เทสลาถูกพบเสียชีวิตที่ห้อง 3327 โรงแรม [[New Yorker Hotel]] ในเมืองนิวยอร์ก โดยผู้พบศพเป็นคนแรกคือพนักงานทำความสะอาดชื่อ อลิซ โมนาร์คฮัน ที่เธอถือวิสาสะเปิดประตูห้องของเทสลาเข้าไปโดยไม่สนใจป้ายห้ามรบกวนที่เทสลาแขวนไว้ที่ประตูห้องเมื่อ 2 วันก่อน แพทย์วินิฉัยว่าเทสลาเสียชีวิตด้วยอาการ[[หัวใจล้มเหลว]] รวมอายุได้อายุได้ 86 ปี ซึ่งไม่สามารถระบุวันเวลาที่แน่นอนของการเสียชีวิตได้ แต่มีการคาดว่าน่าจะอยู่ระหว่างช่วงบ่ายของวันที่ 5 มกราคม ถึงช่วงเช้าของวันที่ [[7 มกราคม]] [[ค.ศ. 1943]]
 
เส้น 56 ⟶ 55:
# ผู้คิดทฤษฎีของเครื่อง[[เรดาร์]]
# ผู้คิด[[รีโมตคอนโทรล]]
 
== เกียรติคุณและอนุสรณ์ ==
<gallery caption="ภาพของเทสลาบนธนบัตรต่าง ๆ" widths="125" perrow="5">
ไฟล์:Serbian 500din Tesla 1978-a king.jpg|ธนบัตร ยูโกสลาเวีย ปี 1978
ไฟล์:Serbia 1000din Tesla 1992-a king.jpg|ธนบัตรยูโกสลาเวีย ปี 1992
ไฟล์:Serbia 10mlrd Tesla 1993-a king.jpg‎|ธนบัตรยูโกสลาเวีย ปี 1993
</gallery>
<gallery>
ไฟล์:Serbia 5din Tesla 1994-a king.jpg‎|ธนบัตรยูโกสลาเวีย ปี 1994
ไฟล์:100RSD front.jpg|ธนบัตรเซอร์เบีย ปี 2007
</gallery>
 
 
== 100 ปีให้หลัง กับศูนย์วิจัย HAARP ==
100 ปี ให้หลัง รังสีหายนะของเทสลากลับกลายเป็นเรื่องจริง วงการวิทยาศาสตร์เพิ่งตามเขาทัน ในเรื่อง “รังสีหายนะ” (Death Ray ชื่อที่หนังสือพิมพ์ขนานนามขีปนาวุธ “โทรกำลัง” Teleforce ของเขา)
ในปี ค.ศ. 1993 กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ เริ่มก่อสร้างศูนย์วิจัยไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere คือชั้นบรรยากาศโลกที่ความสูงตั้งแต่ ๗๐-๕๐๐ กิโลเมตร) ในเมืองกาโคนา มลรัฐอะแลสกา ศูนย์นี้มีชื่อว่า HAARP (High Frequency Active Auroral Research Program) ได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยหลายแห่งในการดำเนินโครงการเพื่อศึกษาคุณสมบัติการสะท้อน (resonant properties) ของโลกและชั้นบรรยากาศโลก โครงการนี้มีความเกี่ยวโยงกับงานของเทสลาอย่างชัดเจน กล่าวคือ HAARP กำลังศึกษาปรากฏการณ์เดียวกันกับที่เทสลาค้นคว้าที่โคโลราโด
 
ประเทศที่โดนโจมตีด้วย High Frequency Active Auroral Research Project มี
1.ญี่ปุ่น
2.ไทย
3.เฮติ
4.จีน
5.อินเดีย
 
และอีกหลายๆประเทศโดนโจม เพราะการโจมตีด้วย High Frequency Active Auroral Research Project จะถูกทิ้งลายนิ้วมือเอาไว้ เป็นแสง ออโรร่า
 
== วัฒนธรรมสมัยนิยม ==
ในการ์ตูน[[ซูเปอร์แมน]] (ค.ศ. 1941) ได้พาดพิง นิโคลา เทศลา และสิ่งประดิษฐ์ของเขามาแต่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ชื่อ ''เทสลา'' ที่พยายามทำลายล้างโลกด้วยเครื่องยิงลำแสงมหาประลัย หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า Death Ray<ref>[https://archive.org/details/superman_1941 Superman (1941)]</ref>
 
 
== อ้างอิง ==