ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝนหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 7:
[[ไฟล์:Thai_Royal_Rain_King_.jpg|thumb|200px|ในหลวงทรงอธิบายการทำฝนหลวง]]
[[ไฟล์:King of royal rain.jpg|thumb|200px|พระราชกรณียกิจในการทำฝนหลวง]]
อิอกฟหกฟหกฟหกฟหกดฟหดหกดหกดหก้เีนก้ิ่าเิท่ะดน่้ิะ่ั้ยะ่้นพะ่้นะ่้วกะะท้ด้ี่ ีะัีะัีะัีะัีพะีะัีะะัีะัีะัพะัีพะัีโตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไกระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและ[[เกษตรกร]]ที่ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและ[[การเกษตร]] จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดำริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กับ [[ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล|ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล]] ไปดำเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสำเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีการก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัด[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]] เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวงต่อไปในรูป
 
การทำฝนเทียมหรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนำน้ำจากฟ้า ใช้เครื่องบินบรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของเมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่ำลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่ำลงนั้นมากพอก็จะทำให้ไอน้ำในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้ำในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย "สูตรร้อน" ใช้เพื่อกระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ, "สูตรเย็น" ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการรวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไกระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
 
== ขั้นตอนการทำฝนหลวง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฝนหลวง"