ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63:
}}<noinclude>
 
'''สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง''' ({{lang-en|World War I หรือ First World War}}) หรือที่มักเรียกว่า "'''สงครามโลก'''" หรือ "'''มหาสงคราม'''" (Great War) ก่อน ค.ศ. 1939 เป็น[[สงครามโลก|สงครามใหญ่]]ที่มีศูนย์กลางในยุโรประหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถึง 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ทุกประเทศ[[มหาอำนาจ]]ของโลกเกี่ยวพันในสงคราม<ref>{{harvnb|Willmott|2003|pp=10–11}}</ref> ซึ่งแบ่งออกเป็น[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] (มีศูนย์กลางอยู่ที่[[ไตรภาคี]] ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศสและรัสเซีย) และฝ่าย[[มหาอำนาจกลาง]] (มีศูนย์กลางอยู่ที่[[ไตรพันธมิตร]] ได้แก่ เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี)<ref name=Willmott15>{{harvnb|Willmott|2003|p=15}}</ref> พันธมิตรทั้งสองมีสองม[[การจัดระเบียบใหม่ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย|ห่งออสเตรีย]] รัชทายาทแห่ง[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] และขยายตัวเมื่อมีชาติเข้าสู่สงครามมากขึ้นวันที่ ท้ายสุด28 มีทหารกว่ามิถุนายน 70ค.ศ. ล้านนาย1914 ซึ่งเป็นทหารยุโรปเสียโดย[[กัฟรีโล 60ปรินซีป]] ล้านนายนักชาตินิยมยูโกสลาฟ ถูกระดมเข้าสู่เป็นชนวนเหตุใกล้ชิดของสงครามใหญ่ที่สุดสงครามหนึ่งในประวัติศาสตร์นี้<ref>{{harvnb|Keegan|1988|p=8}}</ref><ref>{{harvnb|Bade|Brown|2003|pp=167–168}}</ref> สงครามโลกครั้งที่หนึ่งยังนับว่าเป็นความขัดแย้งวงกว้างภายในทวีปยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ออสเตรีย-ฮังการีจึงยื่นคำขาดฮับสบูร์กต่อ[[สงครามนโปเลียนราชอาณาจักรเซอร์เบีย]]<ref name="AJPT2">{{harvnb|JollTaylor|19921998|pp=10–3880–93}}</ref> ทหารผู้เข้าร่วมรบเสียชีวิตเกิน 9 ล้านนาย สาเหตุหลักเพราะความร้ายแรงของพลังทำลายของอาวุธที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล เพราะเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยไม่มีพัฒนาการในการคุ้มครองหรือความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ที่สอดคล้องกัน สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นสงครามที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์อันดับที่หก<ref>{{harvnb |WillmottDjokić|2003|p=30724}}</ref> สงครามนี้เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิตพันธมิตรทั้งหลายซึ่งก่อตั้งขึ้นมาเมื่อหลายทศวรรษก่อนถูกดึงเข้ามาเกี่ยวข้อง บาดเจ็บและสูญหาย รวมกันดังนั้นภายในเวลาไม่ต่ำกว่ากี่สัปดาห์ 40 ล้านคนมหาอำนาจทั้งหลายจึงอยู่ในภาวะสงคราม และกรุยทางความขัดแย้งลุกลามไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหลายทั่วโลกอย่างรวดเร็วผ่านอาณานิคมต่าง เช่น การปฏิวัติในชาติที่เข้าร่วมรบ<ref>{{harvnb|Willmott|2003|p=307}}</ref>
 
สาเหตุระยะยาวของสงครามรวมถึงนโยบายต่างประเทศแบบ[[จักรวรรดินิยม]]ของมหาอำนาจยุโรปทั้งหลาย อย่าง[[จักรวรรดิเยอรมัน]] จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี [[จักรวรรดิออตโตมัน]] [[จักรวรรดิรัสเซีย]] [[จักรวรรดิอังกฤษ]] [[ฝรั่งเศส]]และ[[อิตาลี]] ส่วน[[การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย]] รัชทายาทแห่ง[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดย[[กัฟรีโล ปรินซีป]] นักชาตินิยมยูโกสลาฟ เป็นชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม ออสเตรีย-ฮังการีจึงยื่นคำขาดฮับสบูร์กต่อ[[ราชอาณาจักรเซอร์เบีย]]<ref name="AJPT2">{{harvnb|Taylor|1998|pp=80–93}}</ref><ref>{{harvnb |Djokić|2003|p=24}}</ref> พันธมิตรทั้งหลายซึ่งก่อตั้งขึ้นมาเมื่อหลายทศวรรษก่อนถูกดึงเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์ มหาอำนาจทั้งหลายจึงอยู่ในภาวะสงคราม และความขัดแย้งลุกลามไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วผ่านอาณานิคมต่าง ๆ
 
วันที่ 28 กรกฎาคม ความขัดแย้งเปิดฉากขึ้นเมื่อออสเตรีย-ฮังการีรุกรานเซอร์เบีย<ref>{{harvnb|Evans|2004|p=12}}</ref><ref>{{harvnb|Martel|2003|p=xii ff}}</ref> ตามด้วยการรุกรานเบลเยียม ลักเซมเบิร์กและฝรั่งเศสของเยอรมนี และการโจมตีเยอรมนีของรัสเซีย หลังการบุกโจมตีกรุงปารีสของเยอรมนีถูกหยุด แนวรบด้านตะวันตกก็เป็นการรบแห่งการสูญเสียที่อยู่กับที่ด้วยแนวสนามเพลาะซึ่งเปลี่ยนแปลงน้อยมากกระทั่ง ค.ศ. 1917 ในทางตะวันออก กองทัพรัสเซียสามารถเอาชนะกองทัพออสเตรีย-ฮังการี แต่ถูกกองทัพเยอรมันบีบให้ถอยกลับจากปรัสเซียตะวันออกและโปแลนด์ แนวรบใหม่ ๆ เปิดขึ้นเมื่อจักรวรรดิออตโตมันเข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลีและบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916 จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอนตัวจากสงครามหลัง[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม]]ในปีเดียวกัน หลังการรุกตามแนวรบด้านตะวันตกของเยอรมนีใน ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามและกองทัพสัมพันธมิตรสามารถผลักดันกองทัพเยอรมันกลับไปหลังได้รับชัยชนะติดต่อกันหลายครั้ง เยอรมนี ซึ่งประสบปัญหากับนักปฏิวัติถึงขณะนี้ ได้ตกลงหยุดยิงเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อ [[วันสงบศึก]] และชัยชนะตกเป็นของฝ่ายสัมพันธมิตร