ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอแซก นิวตัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ลิงก์แก้ความกำกวม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
เซอร์ '''ไอแซก นิวตัน''' ({{lang-en|Isaac Newton}}; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1641 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1725 ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]]){{fn|1}} [[นักฟิสิกส์]] นัก[[คณิตศาสตร์]] นัก[[ดาราศาสตร์]] นักปรัชญาธรรมชาติ นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยาชาว[[อังกฤษ]]
 
ศาสตร์นิพนธ์ของนิวตันในปี ค.ศ. 1687 เรื่อง ''[[Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica|หลักการทางคณิตศาสตร์ของปรัชญาธรรมชาติ]]'' (Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica) (เรียกกันโดยทั่วไปว่า ''Principia'') ถือเป็นหนึ่งในหนังสือที่มีอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นรากฐานของวิชา[[กลศาสตร์ดั้งเดิม]] ในงานเขียนชิ้นนี้ นิวตันพรรณนาถึง [[กฎแรงโน้มถ่วงสากล]] และ [[กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน]] ซึ่งเป็นกฎทางวิทยาศาสตร์อันเป็นเสาหลักของการศึกษาจักรวาลทางกายภาพตลอดช่วง 3 ศตวรรษถัดมา นิวตันแสดงให้เห็นว่า การเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ บนโลกและ[[กลศาสตร์ท้องฟ้า|วัตถุท้องฟ้า]]ล้วนอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติชนิดเดียวกัน โดยแสดงให้เห็นความสอดคล้องระหว่าง[[กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์|กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเคปเลอร์]]กับทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของตน ซึ่งช่วยยืนยัน[[แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล]] และช่วยให้[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]]ก้าวหน้ายิ่งขึ้น
 
นิวตันสร้าง[[กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง]]ที่สามารถใช้งานจริงได้เป็นเครื่องแรก<ref>{{cite web|url=http://etoile.berkeley.edu/~jrg/TelescopeHistory/Early_Period.html|title=The Early Period (1608–1672)|accessdate=2009-02-03|publisher=James R. Graham's Home Page}}{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และพัฒนาทฤษฎี[[สี]]โดยอ้างอิงจากผลสังเกตการณ์ว่า [[ปริซึม]]สามเหลี่ยมสามารถแยกแสงสีขาวออกมาเป็นหลายๆ สีได้ ซึ่งเป็นที่มาของ[[สเปกตรัมแสงที่มองเห็น]] เขายังคิดค้น[[กฎการเย็นตัวของนิวตัน]] และศึกษา[[ความเร็วของเสียง]]
บรรทัด 53:
ไอแซก นิวตัน ได้รับยกย่องจากปราชญ์และสมาชิกสมาคมต่างๆ ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
 
== ประวัติ อิอิ ==
 
=== วัยเด็ก ===