ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุเรียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NotSantisukRBLX (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำผิดจากคำว่า “ในประเทศใทย บางตำรากล่าวว่าทุเรียนเป็นต้นไม้ตามทิศที่ควรปลูกไว้ในบริเวณบ้าน” เป็นคำว่า “ในประเทศใทย บางตำรากล่าวว่าทุเรียนเป็นต้นไม้ตามทิศที่ควรปลูกไว้ในบริเวณบ้าน”
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
{{ความหมายอื่น|พืชสกุลหนึ่ง|พายุไต้ฝุ่นในปี พ.ศ. 2548|พายุไต้ฝุ่นทุเรียน}}
{{automatic taxobox
| name = ทุเรียน
| image = Durian.jpg
| image_caption = กองผลทุเรียน
| image2 = Durian in black.jpg
| image2_caption =
| display_parents = 2
| taxon = Durio
| authority = [[Carl Linnaeus|L.]]
| type_species = ''[[Durio zibethinus]]''
| type_species_authority = L.
| synonyms = ''Lahia'' <small>Hassk{{clarify|reason=what is this?|date=February 2022}}</small><ref name="GRIN">{{Cite web |date=12 March 2007 |title=''Durio'' L. |url=http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/genus.pl?4046 |access-date=16 February 2010 |website=[[Germplasm Resources Information Network]] |publisher=[[United States Department of Agriculture]] |archive-date=30 May 2010 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100530032035/http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/genus.pl?4046 |url-status=live }}</ref>
| subdivision_ranks = Species
| subdivision = จัดจำแนกแล้ว [[#สปีชีส์|30 สปีชีส์]]
}}
'''ทุเรียน''' เป็น[[ไม้ผล]]ใน[[การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์|วงศ์]][[วงศ์ฝ้าย|ฝ้าย]] (Malvaceae) ใน[[สกุล]]ทุเรียน (''Durio'')<ref name=APW>{{cite web | url = http://www.mobot.org/mobot/research/APweb/orders/malvalesweb.htm#Malvales | title = Angiosperm Phylogeny Website - Malvales | publisher = สวนพฤกษศาสตร์รัฐมิสซูรี}}</ref><ref name=GRIN>{{cite web | url = http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/genus.pl?4046 | title = GRIN Taxonomy for Plants - ''Durio'' | publisher = กรมวิชาการเกษตรสหรัฐอเมริกา}}</ref> (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae)<ref>พเยาว์ อินทสุวรรณ. อนุกรมวิธานพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 2552</ref> ก็ตาม<ref name=GRIN/>) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้<ref name="สมุนไพรน่ารู้">วันดี กฤษณพันธ์, ''สมุนไพรน่ารู้'', สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2541</ref><ref name="สุขภาพดี">''สุขภาพดีด้วยสมุนไพรใกล้ตัว'', โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง, สำนักพิมพ์ ประพันธ์สาส์น กรกฎาคม พ.ศ. 2541</ref><ref name=Heaton/> ผลทุเรียนมีขนาดใหญ่และมีหนามแข็งปกคลุมทั่วเปลือก อาจมีขนาดยาวถึง 30 ซม. และอาจมี[[เส้นผ่าศูนย์กลาง]]ยาวถึง 15 ซม. โดยทั่วไปมีน้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม ผลมีรูปรีถึงกลม เปลือกมีสีเขียวถึงน้ำตาล เนื้อในมีสีเหลืองซีดถึงแดง แตกต่างกันไปตาม[[สปีชีส์]]
ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีกลิ่นเฉพาะตัว ซึ่งเป็นส่วนผสมของสารระเหยที่ประกอบไปด้วย[[เอสเทอร์]] [[คีโตน]] และ[[กำมะถัน|สารประกอบกำมะถัน]] บางคนบอกว่าทุเรียนมีกลิ่นหอม ในขณะที่บางคนบอกว่ามีกลิ่นเหม็นรุนแรงจนถึงขั้นสะอิดสะเอียน ทำให้มีการห้ามนำทุเรียนเข้ามาในโรงแรมและการขนส่งสาธารณะใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มี[[น้ำตาล]]สูง ทั้งยังอุดมไปด้วยกำมะถันและ[[ไขมัน]] จึงไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยเป็น[[เบาหวาน]]
 
ทุเรียนเป็นพืชพื้นเมืองของ[[ประเทศบรูไน|บรูไน]] [[ประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]] และ[[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกมาประมาณ 600 ปีมาแล้ว ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นัก[[ธรรมชาติวิทยา]]ชาว[[อังกฤษ]] [[อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ]] ได้พรรณนาถึงทุเรียนว่า "เนื้อในมันเหมือนคัสตาร์ดอย่างมาก รสชาติคล้ายอาลมอนด์" เนื้อในของทุเรียนกินได้หลากหลายไม่ว่าจะห่าม หรือสุกงอม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการนำทุเรียนมาทำอาหารได้หลายอย่าง ทั้งเป็นอาหารคาวและอาหารหวาน แม้แต่เมล็ดก็ยังรับประทานได้เมื่อทำให้สุก
 
ทุเรียนมีมากกว่า 30 ชนิด มีอย่างน้อย 9 ชนิดที่รับประทานได้ แต่มีเพียง ''Durio zibethinus'' เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่ได้รับความนิยมทั่วโลก จนมีตลาดเป็นสากล ในขณะทุเรียนชนิดที่เหลือมีขายแค่ในท้องถิ่นเท่านั้น ทุเรียนมีสายพันธุ์ประมาณ 100 สายพันธุ์ให้ผู้บริโภคเลือกรับประทาน นอกจากนี้ยังมีราคาสูงอีกด้วย ส่วนใน[[ประเทศไทย]]พบทุเรียนอยู่ 5 ชนิด
 
== ศัพทมูลวิทยา ==
คำว่า ''ทุเรียน (durian)'' มาคำจาก[[ภาษามลายู]] คือคำว่า ''duri'' (หนาม) มารวมกับคำต่อท้าย -''an'' (เพื่อสร้างเป็นคำนามในภาษามลายู)<ref>{{cite book | quote= ''durion'', ชื่อในภาษามลายูของพืช | title = [[พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด]] | year = 1897 | publisher = โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด}}</ref><ref>{{cite book | author=Huxley, A. (Ed.) | title=New RHS Dictionary of Gardening | publisher=Macmillan | year=1992 | isbn = 1-56159-001-0}}</ref> ''D. zibethinus'' เป็นเพียงชนิดเดียวที่มีการปลูกเลี้ยงในเชิงการค้าเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่และนอกถิ่นกำเนิด ในทุเรียนชนิด ''zibethinus'' ได้ชื่อมาจาก[[ชะมดแผงหางปล้อง]] (''Viverra zibetha'') มีความเชื่อแต่ไม่มีหลักฐานยืนยัน ว่าชื่อนี้ตั้งโดย[[คาโรลัส ลินเนียส|ลินเนียส]]ซึ่งมาจากชะมดชอบทุเรียนมากจนมีการนำไปเป็นเหยื่อล่อในการดักจับชะมด หรืออาจเป็นเพราะทุเรียนมีกลิ่นคล้ายชะมด<ref>{{cite book | author = Brown, Michael J. | title=Durio — A Bibliographic Review | publisher = สถาบันทรัพยากรพันธุกรรมพืชนานาชาติ (IPGRI)| year=1997 | url = http://www.bioversityinternational.org/publications/Pdf/654.pdf | isbn=92-9043-318-3 | pages = หน้า 2 และ 5–6 ในเรื่องลินเนียสหรือเมอร์เรย์เป็นผู้มีอำนาจที่ถูกต้องใน[[ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม]] | format = PDF | accessdate = 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551}}</ref>