ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคเณศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 196:
== การขึ้นสู่การเป็นเทพเจ้าหลัก ==
=== การปรากฏครั้งแรก ===
พระคเณศปรากฏครั้งแรกในรูปดั้งเดิมของพระองค์ในลักษณะของเทพเจ้าที่มีลักษณะเฉพาะตั้งแต่ราวต้นศตวรรษที่ 4 ถึง 5{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} รูปเคารพพระคเณศที่เก่าแก่ที่สุดที่เคยพบคือเทวรูปพระคเณศสององค์ที่พบใน[[อัฟกานิสถาน]]ตะวันออก องค์แรกนั้นพบในซากปรักหักพังทางตอนเหนือของกรุง[[กาบูล]]กรุ พบพร้อมกับเทวรูปของ[[พระสุรยะ]]และ[[พระศิวะ]]รยะและ อายุราวศตวรรษที่ 4{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}} ส่วนเทวรูปองค์ที่สองพบที่ [[Gardez]] และมีการสลักพระนามของพระองค์ไว้ที่ฐาน อายุราวศตวรรษที่ 5{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}} เทวรูปอีกองค์นั้นพบแกะสลักบนผนังของถ้ำหมายเลข 6 ของ[[Udayagiri Caves|ถ้ำอุทัยคีรี]] (Udayagiri Caves) ใน[[รัฐมัธยประเทศ]] อายุราวศตวรรษที่ 5{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}} ส่วนเทวรูปที่มีพระเศียรเป็นช้าง ทรงชามขนมหวานนั้นพบเก่าแก่ที่สุดในซากปรักหักพังของ[[Bhumara Temple|ภูมรมนเทียร]] (Bhumara Temple) ใน[[รัฐมัธยประเทศ]] อายุราวศตวรรษที่ 5 ในสมัย[[ราชวงศ์คุปตะ]]<ref>Nagar, p. 4.</ref>{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}}<ref>{{cite book|author=Raman Sukumar|title=The Living Elephants: Evolutionary Ecology, Behaviour, and Conservation |url=https://archive.org/details/livingelephantse00suku_0 |url-access=registration|year=2003|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0198026730|pp=[https://archive.org/details/livingelephantse00suku_0/page/67 67]–68}}</ref> ส่วนคติที่บูชาพระคเณศเป็นหลักนั้นเป็นไปได้ว่าจัดตั้งขึ้นในศตวรรษที่ 10{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} ลัทธิที่บูชาพระคเณศเป็นเทพองค์หลักนั้นน่าจะมีขึ้นแล้วในศตวรรษที่ 6{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} นเรน (Narain) สรุปว่าสาเหตุที่ไม่พบหลักฐานประวัติศาสตร์พระคเณศในประวัติศาสตร์ก่อนศตวรรษที่ 5 นั้นมาจาก:{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}}
[[ไฟล์:Kabul ganesh khingle.jpg|thumb|175px|right|เทวรูปพระคเณศหินอ่อน ศตวรรษที่ 5 พบที่เมือง[[Gardez|การ์เดซ]] [[ประเทศอัฟกานิสถาน]] ในอดีตเคยประดิษฐานที่มัสยิดปีร์รัตตันนาถ (Dargah Pir Rattan Nath) ใน[[คาบูล]] (ปัจจุบันไม่ทราบที่ประดิษฐาน) จารึกระบุว่านี่เป็น "รูปอันยิ่งใหญ่และสวยงามของพระมหาวินายก" ถวายให้โดยกษัตริย์คิงกาลา (Khingala) แห่ง[[Shahi|ชาฮี]]<ref>สำหรับภาพของเทวรูปและจารึกดังกล่าว ดูที่: Dhavalikar, M.K., "{{IAST|Gaņeśa}}: Myth and Reality", ใน: {{Harvnb|Brown|1991|pp=50, 63}}.</ref><ref>{{citation|jstor=29755703|title=A Note on Two Gaṇeśa Statues from Afghanistan|journal=East and West|volume=21|issue=3/4|pages=331–336|last1=Dhavalikar|first1=M. K.|year=1971}}</ref>]]
พระคเณศปรากฏครั้งแรกในรูปดั้งเดิมของพระองค์ในลักษณะของเทพเจ้าที่มีลักษณะเฉพาะตั้งแต่ราวต้นศตวรรษที่ 4 ถึง 5{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} รูปเคารพพระคเณศที่เก่าแก่ที่สุดที่เคยพบคือเทวรูปพระคเณศสององค์ที่พบใน[[อัฟกานิสถาน]]ตะวันออก องค์แรกนั้นพบในซากปรักหักพังทางตอนเหนือของกรุง[[กาบูล]] พบพร้อมกับเทวรูปของ[[พระสุรยะ]]และ[[พระศิวะ]] อายุราวศตวรรษที่ 4{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}} ส่วนเทวรูปองค์ที่สองพบที่ [[Gardez]] และมีการสลักพระนามของพระองค์ไว้ที่ฐาน อายุราวศตวรรษที่ 5{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}} เทวรูปอีกองค์นั้นพบแกะสลักบนผนังของถ้ำหมายเลข 6 ของ[[Udayagiri Caves|ถ้ำอุทัยคีรี]] (Udayagiri Caves) ใน[[รัฐมัธยประเทศ]] อายุราวศตวรรษที่ 5{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}} ส่วนเทวรูปที่มีพระเศียรเป็นช้าง ทรงชามขนมหวานนั้นพบเก่าแก่ที่สุดในซากปรักหักพังของ[[Bhumara Temple|ภูมรมนเทียร]] (Bhumara Temple) ใน[[รัฐมัธยประเทศ]] อายุราวศตวรรษที่ 5 ในสมัย[[ราชวงศ์คุปตะ]]<ref>Nagar, p. 4.</ref>{{Sfn|Brown|1991|pp=50–55, 120}}<ref>{{cite book|author=Raman Sukumar|title=The Living Elephants: Evolutionary Ecology, Behaviour, and Conservation |url=https://archive.org/details/livingelephantse00suku_0 |url-access=registration|year=2003|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0198026730|pp=[https://archive.org/details/livingelephantse00suku_0/page/67 67]–68}}</ref> ส่วนคติที่บูชาพระคเณศเป็นหลักนั้นเป็นไปได้ว่าจัดตั้งขึ้นในศตวรรษที่ 10{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} ลัทธิที่บูชาพระคเณศเป็นเทพองค์หลักนั้นน่าจะมีขึ้นแล้วในศตวรรษที่ 6{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} นเรน (Narain) สรุปว่าสาเหตุที่ไม่พบหลักฐานประวัติศาสตร์พระคเณศในประวัติศาสตร์ก่อนศตวรรษที่ 5 นั้นมาจาก:{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}}
 
{{quote|สิ่งที่เป็นปริศนาคือการปรากฏขึ้นอย่างค่อนข้างรวดเร็วของพระคเณศในเวทีประวัติศาสตร์ บรรพบทของพระองค์นั้นไม่ชัดเจน การยอมรับและความนิยมแพร่หลายของพระองค์ซึ่งข้ามพ้นข้อจำกัดของนิกายและดินแดน น่าเหลือเชื่ออย่างแท้จริง ด้านหนึ่ง มีความเชื่อศรัทธาในผู้อุทิศแบบทรรศนะดั้งเดิมในกำเนิดพระเวทของพระเคณศ และในคำอธิบายปุราณะบรรจุในปรัมปราวิทยาที่น่าสับสนแต่น่าสนใจ อีกด้านหนึ่ง มีข้อสงสัยเกี่ยวกับการมีความคิดและสัญรูปของเทพเจ้าพระองค์นี้ ก่อนศตวรรษที่สี่ถึงห้า ... ในความเห็นของผม แท้จริงแล้วไม่มีหลักฐานที่ชวนให้เชื่อ[ในวรรณกรรมพราพมณ์]ว่ามีเทพเจ้าพระองค์นี้ก่อนศตวรรษที่ห้า}}
 
นเรนเสนอว่าหลักฐานของพระคเณศที่เก่ากว่านั้นอาจพบนอกธรรมเนียมพราหมณ์และสันสกฤต หรืออยู่นอกเขตภูมิศาสตร์ของอินเดีย{{Sfn|Brown|1991|pp=19–21, chapter by AK Narain}} บราวน์ระบุว่ามีการพบเทวรูปพระคเณศใน[[ประเทศจีน]]แล้วเมื่อราวศตวรรษที่ 6{{Sfn|Brown|1991|p=2}} และการตั้งรูปพระคเณศเชิงศิลปะในฐานะผู้ขจัดอุปสรรคนั้นพบในเอเชียใต้แล้วเมื่อประมาณปี 400{{Sfn|Brown|1991|p=8}} ส่วนไบลีย์ (Bailey) ระบุว่ามีการถือว่าพระองค์เป็นบุตรของพระปารวตี และมีบรรจุในเทววิทยา[[ไศวะ]]ในศตวรรษแรก ๆ แล้ว{{Sfn|Bailey|1995|p=ix}}
 
=== อิทธิพลที่อาจมีส่วน ===